ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-20 เมตร เรือนยอดค่อนข้างทึบกิ่งมักคดงอ ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อย 3 ใบ ก้านรวมยาว 10-20 ซม.ใบย่อยรูปรีแกมไข่ โคนมน ปลายเรียวแหลม กว้าง 5-11 ซม. ยาว 10-20 ซม.เนื้อใบหนาเกลี้ยง ด้านหลังใบสีเขียวเข้ม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อยทู่ ดอก สีเหลืองอ่อนอมเขียว มีขนาดเล็กออกเป็นช่อที่มีแขนงมากจนดูเป็นกลุ่มใหญ่ ช่อยาว 30-50 ซม. ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน ดอกเพศผู้มี 5 กลีบ รูปโค้งเป็นกระพุ้ง หลุดร่วงง่าย เกสรเพศผู้ 5 อัน ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้แต่มีรังไข่ ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาด 7-10 มม. เมื่อแก่จัดเป็นสีน้ำตาลหรือเหลือง เมล็ดมี3-4 เมล็ด
- ไม้ต้น
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-20 เมตร เรือนยอดค่อนข้างทึบกิ่งมักคดงอ ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อย 3 ใบ ก้านรวมยาว 10-20 ซม.ใบย่อยรูปรีแกมไข่ โคนมน ปลายเรียวแหลม กว้าง 5-11 ซม. ยาว 10-20 ซม.เนื้อใบหนาเกลี้ยง ด้านหลังใบสีเขียวเข้ม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อยทู่ ดอก สีเหลืองอ่อนอมเขียว มีขนาดเล็กออกเป็นช่อที่มีแขนงมากจนดูเป็นกลุ่มใหญ่ ช่อยาว 30-50 ซม. ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน ดอกเพศผู้มี 5 กลีบ รูปโค้งเป็นกระพุ้ง หลุดร่วงง่าย เกสรเพศผู้ 5 อัน ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้แต่มีรังไข่ ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาด 7-10 มม. เมื่อแก่จัดเป็นสีน้ำตาลหรือเหลือง เมล็ดมี3-4 เมล็ด
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-20 เมตร เรือนยอดค่อนข้างทึบกิ่งมักคดงอ ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อย 3 ใบ ก้านรวมยาว 10-20 ซม.ใบย่อยรูปรีแกมไข่ โคนมน ปลายเรียวแหลม กว้าง 5-11 ซม. ยาว 10-20 ซม.เนื้อใบหนาเกลี้ยง ด้านหลังใบสีเขียวเข้ม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อยทู่ ดอก สีเหลืองอ่อนอมเขียว มีขนาดเล็กออกเป็นช่อที่มีแขนงมากจนดูเป็นกลุ่มใหญ่ ช่อยาว 30-50 ซม. ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน ดอกเพศผู้มี 5 กลีบ รูปโค้งเป็นกระพุ้ง หลุดร่วงง่าย เกสรเพศผู้ 5 อัน ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้แต่มีรังไข่ ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาด 7-10 มม. เมื่อแก่จัดเป็นสีน้ำตาลหรือเหลือง เมล็ดมี3-4 เมล็ด
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูง 10-20 เมตร เรือนยอดค่อนข้างทึบกิ่งมักคดงอ ใบ เป็นใบประกอบแบบมีใบย่อย 3 ใบ ก้านรวมยาว 10-20 ซม.ใบย่อยรูปรีแกมไข่ โคนมน ปลายเรียวแหลม กว้าง 5-11 ซม. ยาว 10-20 ซม.เนื้อใบหนาเกลี้ยง ด้านหลังใบสีเขียวเข้ม ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อยทู่ ดอก สีเหลืองอ่อนอมเขียว มีขนาดเล็กออกเป็นช่อที่มีแขนงมากจนดูเป็นกลุ่มใหญ่ ช่อยาว 30-50 ซม. ดอกเพศผู้และเพศเมียอยู่ต่างดอกกัน ดอกเพศผู้มี 5 กลีบ รูปโค้งเป็นกระพุ้ง หลุดร่วงง่าย เกสรเพศผู้ 5 อัน ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้แต่มีรังไข่ ผลเป็นผลสด ทรงกลม ขนาด 7-10 มม. เมื่อแก่จัดเป็นสีน้ำตาลหรือเหลือง เมล็ดมี3-4 เมล็ด
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ลำต้น: สูง 15-30 ม. ใบ: ใบประกอบมีสามใบย่อยที่ปลายก้านใบ เรียงเวียน ใบย่อยรูปรี หรือรูปไข่หรือรูปไข่กลับ กว้าง 5-11 ซม. ยาว 10-12 ซม. โคนใบมนหรือเบี้ยว ขอบใบย่อยจักฟันเลื่อย ปลายใบย่อยเรียวแหลม ก้านใบยาว 10-20 ซม. ก้านใบย่อยยาว 1-3 ซม. ดอก: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกย่อยขนาดเล็กสีเขียวอ่อนหรือเหลืองอ่อน แยกเพศ ดอกเพศผู้มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ หลุดง่าย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อันติดกับกลีบเลี้ยง ดอกเพศเมียเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่กลม 3-4 ช่อง ช่องละ 2 ออวูล รังไข่เหนือวงกลีบ หลอดท่อรังไข่ติดอยู่จนกระทั่งเป็นผล ผล: ผลมีเนื้อหลายเมล็ด กลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.7-1 ซม. ผลแก่สีเหลืองหรือสรน้ำตาล มี 3-4 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- จากอินเดียถึงประเทศในหมู่เกาะแปซิฟิก ตามป่าเบญจพรรณ และป่าดงดิบหรือริมลำห้วย ที่ระดับความสูง 100-1000 เมตร ประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ออกดอกระหว่างเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ผลแก่จัดระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
- จากอินเดียถึงประเทศในหมู่เกาะแปซิฟิก ตามป่าเบญจพรรณ และป่าดงดิบหรือริมลำห้วย ที่ระดับความสูง 100-1000 เมตร ประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ออกดอกระหว่างเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ผลแก่จัดระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
- จากอินเดียถึงประเทศในหมู่เกาะแปซิฟิก ตามป่าเบญจพรรณ และป่าดงดิบหรือริมลำห้วย ที่ระดับความสูง 100-1000 เมตร ประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ออกดอกระหว่างเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ผลแก่จัดระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
- จากอินเดียถึงประเทศในหมู่เกาะแปซิฟิก ตามป่าเบญจพรรณ และป่าดงดิบหรือริมลำห้วย ที่ระดับความสูง 100-1000 เมตร ประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ออกดอกระหว่างเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ผลแก่จัดระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
ระบบนิเวศ :
- พบทั่วไปในป่าผสมผลัดใบชื้นและป่าดิบ ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 100-1,000 ม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์
- จันทบุรี
- กำแพงเพชร, ตาก
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- นครศรีธรรมราช
- สระบุรี
- กาญจนบุรี
- สุโขทัย
- ชลบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- เชียงใหม่
- พังงา
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
- ชุมพร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- เนื้อไม้ใช้ทำไม้พื้น ทำฝา เครื่องเรือน ทำแจว พาย กรรเชียง กั้นบ่อน้ำและร่องน้ำ ลำต้น ต้มน้ำดื่มแก้เจ็บคอ เสียงแหบ แก้บิด เปลือกต้น ตำผสมกับอาหารที่มีรสจัดป้องกันอาการท้องเสีย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)