ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 เมตร โตเร็ว ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ เปลือกหนา สี เทาปนดำ แตกเป็นร่องลึก
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบยาว 25-70 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 9-13 เซนติเมตร โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม
ดอก สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อห้อยลง ยาว 40-50 เซนติเมตร ดอกบานขนาด 3.5-5 มิลลิเมตร มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกแยกเพศอยู่บนช่อเดียวกัน กลีบดอก 5 กลีบ ขนาด 3.5-5 มิลลิเมตร ในดอกแยกเพศจะยาวเพียง 1-3 มิลลิเมตร
ผล สีน้ำตาลแดง รูปกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1.5-2 เซนติเมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม ผลผลแห้งแตกตามยาว ผิวมีแผลระบายอากาศกระจายทั่วไป เมล็ดรูปยาวรี มีปีกสองข้าง ขนาดไม่เท่ากัน
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบยาว 25-70 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 9-13 เซนติเมตร โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม
ดอก สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อห้อยลง ยาว 40-50 เซนติเมตร ดอกบานขนาด 3.5-5 มิลลิเมตร มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกแยกเพศอยู่บนช่อเดียวกัน กลีบดอก 5 กลีบ ขนาด 3.5-5 มิลลิเมตร ในดอกแยกเพศจะยาวเพียง 1-3 มิลลิเมตร
ผล สีน้ำตาลแดง รูปกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1.5-2 เซนติเมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม ผลผลแห้งแตกตามยาว ผิวมีแผลระบายอากาศกระจายทั่วไป เมล็ดรูปยาวรี มีปีกสองข้าง ขนาดไม่เท่ากัน
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 เมตร โตเร็ว ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมทึบ เปลือกหนา สี เทาปนดำ แตกเป็นร่องลึก
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบยาว 25-70 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 9-13 เซนติเมตร โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม
ดอก สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อห้อยลง ยาว 40-50 เซนติเมตร ดอกบานขนาด 3.5-5 มิลลิเมตร มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกแยกเพศอยู่บนช่อเดียวกัน กลีบดอก 5 กลีบ ขนาด 3.5-5 มิลลิเมตร ในดอกแยกเพศจะยาวเพียง 1-3 มิลลิเมตร
ผล สีน้ำตาลแดง รูปกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1.5-2 เซนติเมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม ผลผลแห้งแตกตามยาว ผิวมีแผลระบายอากาศกระจายทั่วไป เมล็ดรูปยาวรี มีปีกสองข้าง ขนาดไม่เท่ากัน
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบยาว 25-70 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 9-13 เซนติเมตร โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม
ดอก สีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อห้อยลง ยาว 40-50 เซนติเมตร ดอกบานขนาด 3.5-5 มิลลิเมตร มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกแยกเพศอยู่บนช่อเดียวกัน กลีบดอก 5 กลีบ ขนาด 3.5-5 มิลลิเมตร ในดอกแยกเพศจะยาวเพียง 1-3 มิลลิเมตร
ผล สีน้ำตาลแดง รูปกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1.5-2 เซนติเมตร ออกดอกและติดผลช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม ผลผลแห้งแตกตามยาว ผิวมีแผลระบายอากาศกระจายทั่วไป เมล็ดรูปยาวรี มีปีกสองข้าง ขนาดไม่เท่ากัน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. แยกเพศร่วมต้น กิ่งมีช่องอากาศ ใบประกอบเรียงเวียน มีใบย่อย 8-15 คู่ ก้านใบยาว 5-20 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 7-16 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ก้านใบย่อยยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาวได้ถึง 50 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรีขนาดเล็ก ขอบมีขนครุย ดอกสีขาว มี 5 กลีบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 4-5 มม. ขอบมีขนครุย ก้านชูเกสรร่วมยาว 3-5 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 1.5-3 มม. จานฐานดอกคล้ายนวมสีส้มแดง มีขนยาวหนาแน่น รังไข่มีขนยาว มี 5 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 8 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียเกลี้ยง ยาว 1.5-3 มม. ยอดเกสรแบน ผลแห้งแตกเป็น 5 ซีก รูปรี ยาว 2-4 ซม. แกนกลางมีห้าเหลี่ยม ผิวมีช่องอากาศ เมล็ดมีปีกทั้งสองด้าน ยาว 1.5-2 ซม. รวมปีก
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบยาว 25-70 ซม. ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-5 ซม. ยาว 9-13 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม ดอกสีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อห้อยลง ยาว 40-50 ซม. ดอกบานขนาด 3.5-5 มม. มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกแยกเพศอยู่บนช่อเดียวกัน กลีบดอก 5 กลีบ ขนาด 3.5-5 มม. ในดอกแยกเพศจะยาวเพียง 1-3 มม. ผลสีน้ำตาลแดง รูปกระสวย กว้าง 1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ผลแห้งแตกตามยาว ผิวมีแผลระบายอากาศกระจายทั่วไป เมล็ดรูปยาวรี มีปีกสองข้าง ขนาดไม่เท่ากัน
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ช่อใบยาว 25-70 ซม. ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-5 ซม. ยาว 9-13 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม ดอกสีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อห้อยลง ยาว 40-50 ซม. ดอกบานขนาด 3.5-5 มม. มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกแยกเพศอยู่บนช่อเดียวกัน กลีบดอก 5 กลีบ ขนาด 3.5-5 มม. ในดอกแยกเพศจะยาวเพียง 1-3 มม. ผลสีน้ำตาลแดง รูปกระสวย กว้าง 1 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ผลแห้งแตกตามยาว ผิวมีแผลระบายอากาศกระจายทั่วไป เมล็ดรูปยาวรี มีปีกสองข้าง ขนาดไม่เท่ากัน
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่ปากีสถาน อินเดีย จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงปาปัวนิวกินี ขึ้นตามชายป่าที่ชื้นหรือเปิดใหม่ ที่ระดับความสูง 300-1,500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม
-
พบตั้งแต่ปากีสถาน อินเดีย จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงปาปัวนิวกินี ขึ้นตามชายป่าที่ชื้นหรือเปิดใหม่ ที่ระดับความสูง 300-1,500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนเมษายน-กรกฎาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา,น่าน
-
ระยอง, จันทบุรี
-
กำแพงเพชร, ตาก
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
เลย
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
นครศรีธรรมราช
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
สตูล, สงขลา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
ระนอง, ชุมพร
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
การขยายพันธุ์ :
-
ใช้วิธีการเพาะเมล็ดเท่านั้น เพราะง่าย สะดวก และได้ปริมาณมาก ด้วยการเก็บเมล็ดจากต้นแม่พันธุ์ที่มีลักษณะต้นสูงใหญ่ มีกิ่งน้อย ใบดกหนา ไม่มีรอยโรค รอยแมลงทำลาย
-
ใช้วิธีการเพาะเมล็ดเท่านั้น เพราะง่าย สะดวก และได้ปริมาณมาก ด้วยการเก็บเมล็ดจากต้นแม่พันธุ์ที่มีลักษณะต้นสูงใหญ่ มีกิ่งน้อย ใบดกหนา ไม่มีรอยโรค รอยแมลงทำลาย
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช