ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 13-22 เมตร ลำต้นตรง โคนต้นอ่อนมักมีกิ่งรยางค์ปรากฏ เมื่อสับจะมียางสีแดงส้มชัดเจน ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปมนแกมรูปไข่ ปลายใบแหลมยาว ฐานใบมนหรือสอบเข้าหากันเป็นรูปลิ่ม มีต่อมคู่อยู่ที่ขอบใบเยื้ยงไปทางโคนใบ ใบอ่อนคลุมด้วยขนสีน้ำตาลอ่อนหนาแน่น และร่วงเมื่อใบมีอายุมากขึ้น ดอก เป็นช่อมีกิ่งแขนงมาก ขนาด 2.5-5 ซม. ช่อดอกอ่อนคลุมด้วยขนสีน้ำตาลหนาแน่น ดอกสีขาวอมเหลือง มีขนาดเล็กมาก ลักษณะเป็นถ้วยกลีบรองกลีบดอกมีขนสีน้ำตาลปกคลุม ทั้งด้านนอกและด้านใน ผล เป็นผลแก่ไม่แตกรูปบกระสวย ขอบขนาน มีครีบ 3 ครีบ แต่ละครีบทำมุมเกือบเท่ากัน สีน้ำตาลอ่อน ผิวเกลี้ยง ขนาดของผลรวมทั้งครีบยาว 1.5-2.5 ซม. กว้าง 1-1.5 ซม.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5-25 ม. เปลือกแตกเป็นร่องตื้น เปลือกในสีน้ำตาลแดง ต้นอ่อนกิ่งลดรูปคล้ายหนาม ใบรูปไข่ ยาว 6-10 ซม. ขอบใบมีต่อมหนึ่งคู่ใกล้โคน ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง 3-6 ช่อ ช่อย่อยแบบช่อเชิงลด ยาว 3-6 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกย่อยที่สองยาว 2.5-5 ซม. แต่ละช่อมี 4-5 ดอก ใบประดับรูปเส้นด้าย ยาว 1-1.5 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ยาว 1-2 มม. ด้านในมีขน ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง จานฐานดอกจักมนมีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 2.5-3 มม. ผลมี 3 ปีก รูปขอบขนาน ยาว 1.5-3.3 ซม. มีเมล็ดเดียว รูปรี
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูงประมาณ 13-22 เมตร ลำต้นตรง โคนต้นอ่อนมักมีกิ่งรยางค์ปรากฏ เมื่อสับจะมียางสีแดงส้มชัดเจน ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปมนแกมรูปไข่ ปลายใบแหลมยาว ฐานใบมนหรือสอบเข้าหากันเป็นรูปลิ่ม มีต่อมคู่อยู่ที่ขอบใบเยื้ยงไปทางโคนใบ ใบอ่อนคลุมด้วยขนสีน้ำตาลอ่อนหนาแน่น และร่วงเมื่อใบมีอายุมากขึ้น ดอก เป็นช่อมีกิ่งแขนงมาก ขนาด 2.5-5 ซม. ช่อดอกอ่อนคลุมด้วยขนสีน้ำตาลหนาแน่น ดอกสีขาวอมเหลือง มีขนาดเล็กมาก ลักษณะเป็นถ้วยกลีบรองกลีบดอกมีขนสีน้ำตาลปกคลุม ทั้งด้านนอกและด้านใน ผล เป็นผลแก่ไม่แตกรูปบกระสวย ขอบขนาน มีครีบ 3 ครีบ แต่ละครีบทำมุมเกือบเท่ากัน สีน้ำตาลอ่อน ผิวเกลี้ยง ขนาดของผลรวมทั้งครีบยาว 1.5-2.5 ซม. กว้าง 1-1.5 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อน ในประเทศไทยขึ้นกระจายทั่วไปในป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบทั่วทุกภาค พบขึ้นบ่อย ๆ บนพื้นที่ที่ประกอบด้วยหินปูน
-
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้งบนเขาหินทรายหรือหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
-
มีถิ่นกำเนิดอยู่ในเขตร้อน ในประเทศไทยขึ้นกระจายทั่วไปในป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบทั่วทุกภาค พบขึ้นบ่อย ๆ บนพื้นที่ที่ประกอบด้วยหินปูน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี
-
เพชรบุรี
-
จันทบุรี
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
นครราชสีมา
-
เชียงราย
-
กาญจนบุรี
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
จันทบุรี
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
จันทบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
ลำปาง
-
ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ตาก
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
เลย
-
เลย
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
ชัยภูมิ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
กาฬสินธุ์
-
กาฬสินธุ์
-
กาฬสินธุ์
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองบงคาย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ไม้ดอกไม้ประดับ,เป็นไม้เนื้อแข็ง ใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือน เครื่องเรือน ต่อเรือ ด้ามเครื่องมือกสิกรรม เปลือกมีรสฝาดใช้กินกับหมากได้