ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นสูง 6-10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีแกม ขอบขนานถึงรูปไข่กลับ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. ปลายใบ เรียวแหลมหรือทู่ โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบหยักห่าง ใบแก่ ผิวเรียบเกลี้ยง ดอก สีขาวหรือสีครีม ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 8-12 ซม. ขนาดดอก บานกว้าง 0.5-0.7 ซม. มีกลิ่นหอม กลีบรองดอก 5 แฉก ติดทนนาน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายกลีบมน เกสรผู้ประมาณ 20 อัน ก้านเกสรเมีย 2-3 อัน รังไข่ด้านบนมีขนยาว ผล รูปรีป้อม กว้าง 1 ซม. ยาว 1.5 ซม. ด้านบนมีกลีบรองดอกติดอยู่ มี 1 เมล็ด
- ไม้ต้นสูง 6-10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีแกม ขอบขนานถึงรูปไข่กลับ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. ปลายใบ เรียวแหลมหรือทู่ โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบหยักห่าง ใบแก่ ผิวเรียบเกลี้ยง ดอก สีขาวหรือสีครีม ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 8-12 ซม. ขนาดดอก บานกว้าง 0.5-0.7 ซม. มีกลิ่นหอม กลีบรองดอก 5 แฉก ติดทนนาน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายกลีบมน เกสรผู้ประมาณ 20 อัน ก้านเกสรเมีย 2-3 อัน รังไข่ด้านบนมีขนยาว ผล รูปรีป้อม กว้าง 1 ซม. ยาว 1.5 ซม. ด้านบนมีกลีบรองดอกติดอยู่ มี 1 เมล็ด
- ไม้ต้นสูง 6-10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีแกม ขอบขนานถึงรูปไข่กลับ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. ปลายใบ เรียวแหลมหรือทู่ โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบหยักห่าง ใบแก่ ผิวเรียบเกลี้ยง ดอก สีขาวหรือสีครีม ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 8-12 ซม. ขนาดดอก บานกว้าง 0.5-0.7 ซม. มีกลิ่นหอม กลีบรองดอก 5 แฉก ติดทนนาน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายกลีบมน เกสรผู้ประมาณ 20 อัน ก้านเกสรเมีย 2-3 อัน รังไข่ด้านบนมีขนยาว ผล รูปรีป้อม กว้าง 1 ซม. ยาว 1.5 ซม. ด้านบนมีกลีบรองดอกติดอยู่ มี 1 เมล็ด
- ไม้ต้นสูง 6-10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีแกม ขอบขนานถึงรูปไข่กลับ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. ปลายใบ เรียวแหลมหรือทู่ โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบหยักห่าง ใบแก่ ผิวเรียบเกลี้ยง ดอก สีขาวหรือสีครีม ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 8-12 ซม. ขนาดดอก บานกว้าง 0.5-0.7 ซม. มีกลิ่นหอม กลีบรองดอก 5 แฉก ติดทนนาน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายกลีบมน เกสรผู้ประมาณ 20 อัน ก้านเกสรเมีย 2-3 อัน รังไข่ด้านบนมีขนยาว ผล รูปรีป้อม กว้าง 1 ซม. ยาว 1.5 ซม. ด้านบนมีกลีบรองดอกติดอยู่ มี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดียถึงภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ตามป่าดิบ ป่าผลัดใบ หรือป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงถึง 1,500 เมตร ออกดอกช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
- อินเดียถึงภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ตามป่าดิบ ป่าผลัดใบ หรือป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงถึง 1,500 เมตร ออกดอกช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
- อินเดียถึงภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ตามป่าดิบ ป่าผลัดใบ หรือป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงถึง 1,500 เมตร ออกดอกช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
- อินเดียถึงภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ตามป่าดิบ ป่าผลัดใบ หรือป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงถึง 1,500 เมตร ออกดอกช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เชียงใหม่
- สงขลา
- สงขลา
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- กำแพงเพชร, ตาก
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ตาก
- แพร่, อุตรดิตถ์
- พะเยา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, บริเวณเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ระหว่างรอยต่อของทางแยกแม่แจ่ม-จอมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ