ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร ลำต้นสีเทา เปลาตรง มีหนามตามต้น และกิ่งก้าน ใบ เป็นช่อ ติดเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง โคนใบสอบแคบ ปลายใบเรียวแหลม ดอก ออกเดี่ยว ๆ สีขาวขนาด 6-8 ซม. ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง กลีบดอกมี 5 กลีบ สีครีมอมม่วง เมื่อบานเต็มที่ปลายกลีบจะพับ ออกด้านนอก เผยให้เห็นเกสรผู้จำนวนมาก เรียงเป็นกลุ่ม ส่วนโคนติดอยู่กับฐานโคนกลีบดอกด้านใน หลอดท่อรังไข่ มีหลอดเดี่ยวจะยาวยื่นพ้นกลุ่มเกสรผู้ขึ้นมา ผล รูปกระสวย ทรงกระบอกกว้าง 4 ซม. ยาว 10-12 ซม. ผิวแข็งผลแก่จะแตกอ้าตามรอยประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลม สีดำ มีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
- เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร ลำต้นสีเทา เปลาตรง มีหนามตามต้น และกิ่งก้าน ใบ เป็นช่อ ติดเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง โคนใบสอบแคบ ปลายใบเรียวแหลม ดอก ออกเดี่ยว ๆ สีขาวขนาด 6-8 ซม. ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง กลีบดอกมี 5 กลีบ สีครีมอมม่วง เมื่อบานเต็มที่ปลายกลีบจะพับ ออกด้านนอก เผยให้เห็นเกสรผู้จำนวนมาก เรียงเป็นกลุ่ม ส่วนโคนติดอยู่กับฐานโคนกลีบดอกด้านใน หลอดท่อรังไข่ มีหลอดเดี่ยวจะยาวยื่นพ้นกลุ่มเกสรผู้ขึ้นมา ผล รูปกระสวย ทรงกระบอกกว้าง 4 ซม. ยาว 10-12 ซม. ผิวแข็งผลแก่จะแตกอ้าตามรอยประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลม สีดำ มีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
- เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร ลำต้นสีเทา เปลาตรง มีหนามตามต้น และกิ่งก้าน ใบ เป็นช่อ ติดเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง โคนใบสอบแคบ ปลายใบเรียวแหลม ดอก ออกเดี่ยว ๆ สีขาวขนาด 6-8 ซม. ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง กลีบดอกมี 5 กลีบ สีครีมอมม่วง เมื่อบานเต็มที่ปลายกลีบจะพับ ออกด้านนอก เผยให้เห็นเกสรผู้จำนวนมาก เรียงเป็นกลุ่ม ส่วนโคนติดอยู่กับฐานโคนกลีบดอกด้านใน หลอดท่อรังไข่ มีหลอดเดี่ยวจะยาวยื่นพ้นกลุ่มเกสรผู้ขึ้นมา ผล รูปกระสวย ทรงกระบอกกว้าง 4 ซม. ยาว 10-12 ซม. ผิวแข็งผลแก่จะแตกอ้าตามรอยประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลม สีดำ มีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
- เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร ลำต้นสีเทา เปลาตรง มีหนามตามต้น และกิ่งก้าน ใบ เป็นช่อ ติดเรียงเวียนกันเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง โคนใบสอบแคบ ปลายใบเรียวแหลม ดอก ออกเดี่ยว ๆ สีขาวขนาด 6-8 ซม. ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยแข็ง กลีบดอกมี 5 กลีบ สีครีมอมม่วง เมื่อบานเต็มที่ปลายกลีบจะพับ ออกด้านนอก เผยให้เห็นเกสรผู้จำนวนมาก เรียงเป็นกลุ่ม ส่วนโคนติดอยู่กับฐานโคนกลีบดอกด้านใน หลอดท่อรังไข่ มีหลอดเดี่ยวจะยาวยื่นพ้นกลุ่มเกสรผู้ขึ้นมา ผล รูปกระสวย ทรงกระบอกกว้าง 4 ซม. ยาว 10-12 ซม. ผิวแข็งผลแก่จะแตกอ้าตามรอยประสาน เมล็ดเล็ก รูปทรงกลม สีดำ มีจำนวนมาก ห่อหุ้มด้วยปุยฝ้ายสีขาว
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง กลีบเลี้ยง และกลีบดอก ใบรูปฝ่ามือ มีใบย่อย 5-7 ใบ ก้านใบยาว 10-30 ซม. มีริ้วเป็นสัน ใบรูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 8-28 ซม. แผ่นใบด้านล่างเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบย่อยยาว 1-1.5 ซม. ก้านดอกยาว 1-3.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูประฆังแคบ ยาว 3-5 ซม. ปลายจักตื้น ๆ 3-5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ดอกสีขาวครีมอมเขียว หรือชมพูอ่อน รูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 4-7 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 6-7 ซม. มี 5 มัด เชื่อมติดกันประมาณ 1.5 ซม. ผลรูปขอบขนาน โค้งเล็กน้อย ยาว 10-18 ซม. มีสันตื้น ๆ 5 สัน
- จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงของต้นประมาณ 15-25 เมตร และสามารถสูงได้ถึง 30 เมตร ลำต้นเปลาตรง และมักมีพูพอนต่ำๆ เมื่อต้นยังเล็กจะมีลักษณะเรือนยอดจะเป็นชั้นๆ เมื่อต้นโตเต็มที่จะมีลักษณะเป็นทรงเรือนยอด ด้านบนจะแบน เปลือกต้นเป็นสีเทา มีหนามแข็งอยู่ทั่วลำต้น โดยเฉพาะต้นอ่อนและกิ่งก้าน และหนามจะลดลงเมื่อต้นโตขึ้น แต่กิ่งก้านยังคงมีหนามเช่นเดิม
ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เมล็ด เจริญเติบโตได้ดีในดินที่ไม่อุ้มน้ำ ชอบแสงแดดจัด สามารถพบได้ทั่วไป แต่มักขึ้น
ตามป่าเบญจพรรณที่มีหินปูน ป่าเบญจพรรณตามเชิงเขาและไหล่เขาตามภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่มีความสูงจากระดับน้ าทะเลตั้งแต่ 600-1,000 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และเขาหินปูน ตามที่เปิดเชิงเขาและไหล่เขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 400-1000 เมตร
- พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และเขาหินปูน ตามที่เปิดเชิงเขาและไหล่เขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 400-1000 เมตร
- พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และเขาหินปูน ตามที่เปิดเชิงเขาและไหล่เขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 400-1000 เมตร
- พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และเขาหินปูน ตามที่เปิดเชิงเขาและไหล่เขาทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 400-1000 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- เชียงใหม่
- มุกดาหาร
- สระบุรี
- สระบุรี
- เพชรบุรี
- ชลบุรี
- สุราษฎร์ธานี
- ราชบุรี
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- สระบุรี
- สระบุรี
- อุตรดิตถ์
- จันทบุรี
- เชียงราย
- ลำปาง
- พิษณุโลก
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- นครราชสีมา
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี
- อุบลราชธานี
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- ระยอง, จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- ประจวบคีรีขันธ์
- ระยอง
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ลำปาง
- ลำปาง
- ราชบุรี
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- ลำปาง, ลำพูน
- ตาก
- ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- สระบุรี
- สระบุรี
- ประจวบคีรีขันธ์
- ขอนแก่น, ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- สุพรรณบุรี
- อุบลราชธานี
- พะเยา, เชียงราย
- มุกดาหาร
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- ชัยภูมิ
- ขอนแก่น
- ขอนแก่น
- มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
- มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
- เลย
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, ตาก
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- ตาก
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- ตรัง, สตูล
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- นครศรีธรรมราช
- ชลบุรี
- ชลบุรี
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- ชัยภูมิ
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- กาฬสินธุ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
- หนองคาย
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
- สุรินทร์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ภูผาเทิบ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำผาท่าพล
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ พุเตย
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
- อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- สุรินทร์
- บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- ไม้ต้น
- ใบ - เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับเวียนเป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง มีใบย่อยประมาณ 5-7 ใบ แผ่นใบมีลักษณะเป็นรูปใบหอกหรือรูปไข่ ใบมีความกว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 7-15 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเป็นรูปลิ่ม ส่วนขอบใบเรียบ ก้านใบย่อยมีความยาวประมาณ 0.5-1.8 เซนติเมตร ส่วนก้านใบรวมยาวประมาณ 10-17 เซนติเมตร ส่วนก้านใบรวมก็ยาวเท่าๆ กับก้านใบย่อย
ดอก - เป็นดอกเดี่ยว มีขนาดประมาณ 6.5-8 เซนติเมตร ดอกเป็นสีขาวครีมแกมสีม่วง ออกดอกเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 2-4 ดอก ออกดอกกระจายอยู่ทั่วเรือนยอดที่กำลังผลัดใบ ส่วนกลีบเลี้ยงดอกที่โคนเชื่อมติดกันมีลักษณะเป็นรูประฆัง มี 2-3 พู เป็นสีเขียวสด เชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วยบนฐานดอกที่แข็ง ส่วนกลีบดอกมี 5 กลีบ ดอกจะโค้งงอไปด้านหลังส่วนของกลีบเลี้ยง กลีบดอกเป็นสีขาว มีขนละเอียดด้านนอก ดอกมีเกสรตัวผู้จำนวนมาก ประมาณ 250-300 อัน มีสีขาวเชื่อมติดกันเป็นกลุ่ม แยกเป็น 5 กลุ่ม และเชื่อมกันเป็นหลอด ส่วนด้านล่างจะห่อหุ้มไปด้วยก้านเกสรตัวเมีย โดยเกสรตัวเมียจะเป็นสีชมพูอมม่วงและมีก้าน
เดียว ปลายแยกเป็น 5 แฉก ซึ่งจะอยู่ชิดติดกัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์จนถึงเดือนมีนาคม (บ้างว่าเดือนมกราคมจนถึงเดือนกุมภาพันธ์) โดยก่อนออกดอกจะทิ้งใบหมด
ผล - มีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอกยาวหรือเป็นรูปทรงกระสวย มีความกว้างของผลประมาณ 5 เซนติเมตร และยาวประมาณ 12-15 เซนติเมตร ขอบขนาน โค้งงอเล็กน้อยและมีสันตื้นๆ 5 สัน เมื่อผลแห้งแล้วจะแตกตามรอยประสาน ภายในผลมีปุยสีขาวห่อหุ้มเมล็ดอยู่ โดยเมล็ดมีลักษณะกลมสีดำและมีขนาดเล็กคล้ายกับเมล็ดฝ้าย โดยจะออกผลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง โดยเฉพาะบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,ไม้ดอกไม้ประดับ,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,น้ำมันทำสบู่
- ยางใช้เป็นยาบำรุงกำลัง ส่วนรากใช้เป็นยากระตุ้นและยาบำรุงกำลัง ช่วยแก้พิษไข้ (ดอกแห้ง) เปลือกใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการร้อนใน รากและเปลือกมีรสฝาดเย็น มีสรรพคุณทำให้อาเจียน ใบมีรสเย็น ใช้บดผสมน้ำทาแก้ต่อมทอมซิลอักเสบ เปลือกต้นใช้ผสมกับเปลือกต้นนุ่น ใช้ต้มกับน้ำดื่ม ช่วยแก้อาการเป็นพิษ เปลือกต้นมีรสฝาดเย็น ช่วยแก้อาการท้องเสีย หรือจะใช้รากนำมาต้มกับน้ำดื่มก็เป็นยาแก้ท้องเสียได้ด้วยเช่นกัน ช่วยแก้อาการท้องร่วง ยางและเปลือกต้นช่วยแก้บิด หรือจะใช้รากนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้โรคบิดก็ได้เช่นกัน หรือจะใช้เปลือกต้นผสมกับเปลือกต้นนุ่น นำมาต้มกับน้ำดื่มก็ได้ รากมีรสจืดเย็น ใช้ต้มดื่มช่วยขับปัสสาวะ
ที่มาของข้อมูล