ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นสูงถึง 20 เมตร ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรี หรือรูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 6.5-8.3 ซม. ยาว 20-32 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเว้ารูปหัวใจหรือมนกลม เส้นใบเชื่อมกับ บริเวณขอบใบ ดอก สีขาว ออกเป็นกระจุกช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ ยาวถึง 5 ซม. ดอกย่อยบานกว้างถึง 5 ซม. ฐานรองดอกเจริญ เป็นรูปถ้วยสูง 15-23 มม. ผิวนอกเป็นสัน กลีบรองดอก 4 กลีบ ปลายกลีบมนกลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปกลม เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 2.4-3.3 ซม. ก้านเกสรเมียยาวกว่าเกสรผู้ ผล รูปทรงกลม ผิวมัน ขนาด 4.2-6 ซม. ผิวนอก เป็นสัน เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
- ไม้ต้นสูงถึง 20 เมตร ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรี หรือรูปหอกแกมขอบขนาน กว้าง 6.5-8.3 ซม. ยาว 20-32 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบเว้ารูปหัวใจหรือมนกลม เส้นใบเชื่อมกับ บริเวณขอบใบ ดอก สีขาว ออกเป็นกระจุกช่อที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ ยาวถึง 5 ซม. ดอกย่อยบานกว้างถึง 5 ซม. ฐานรองดอกเจริญ เป็นรูปถ้วยสูง 15-23 มม. ผิวนอกเป็นสัน กลีบรองดอก 4 กลีบ ปลายกลีบมนกลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปกลม เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 2.4-3.3 ซม. ก้านเกสรเมียยาวกว่าเกสรผู้ ผล รูปทรงกลม ผิวมัน ขนาด 4.2-6 ซม. ผิวนอก เป็นสัน เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย บังคลาเทศ จีน และเมียนม่าห์ ประเทศไทยพบทุกภาคตามริมลำธาร บริเวณ ป่าผลัดใบหรือป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 50-1,450 เมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
- อินเดีย บังคลาเทศ จีน และเมียนม่าห์ ประเทศไทยพบทุกภาคตามริมลำธาร บริเวณ ป่าผลัดใบหรือป่าดงดิบ ที่ระดับความสูง 50-1,450 เมตร ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เลย
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- เพชรบูรณ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง