ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลักษณะเรือนยอดเป็นพุ่ม ลำต้นเปลา เปลือกสีน้ำตาลปนเทา เป็นสะเก็ดถี่ ๆ ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ติดเรียงสลับ รูปรีแกมรูปไข่ โคนใบมน ปลายใบหยักคอด เป็นติ่งสั้น ๆ เนื้อใบหนา ท้องใบมีคราบขาวเด่นชัด ขอบใบเรียบ ดอก ออกดอกรวมกันเป็นช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง มีก้านดอกสั้นมาก ดอกย่อยเล็ก สีขาว มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ บริเวณโคนกลีบ รองกลีบดอกจะเชื่อมเป็นรูปกรวยปากกว้าง ส่วนปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ แยกกัน มีความยาวเท่า ๆ กับกลีบรองกลีบดอก เกสรผู้มี 5-12 อัน รังไข่รูปทรงกลม ผล รูปรีหรือทรงกลม ผิวขรุขระมีตุ่มหรือสะเก็ดสีเทาปนน้ำตาลทั่วไป กว้างประมาณ 3 ซม. ยาว 3-4 ซม.
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลักษณะเรือนยอดเป็นพุ่ม ลำต้นเปลา เปลือกสีน้ำตาลปนเทา เป็นสะเก็ดถี่ ๆ ใบ เป็นชนิดใบเดี่ยว ติดเรียงสลับ รูปรีแกมรูปไข่ โคนใบมน ปลายใบหยักคอด เป็นติ่งสั้น ๆ เนื้อใบหนา ท้องใบมีคราบขาวเด่นชัด ขอบใบเรียบ ดอก ออกดอกรวมกันเป็นช่อสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง มีก้านดอกสั้นมาก ดอกย่อยเล็ก สีขาว มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ บริเวณโคนกลีบ รองกลีบดอกจะเชื่อมเป็นรูปกรวยปากกว้าง ส่วนปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกมี 5 กลีบ แยกกัน มีความยาวเท่า ๆ กับกลีบรองกลีบดอก เกสรผู้มี 5-12 อัน รังไข่รูปทรงกลม ผล รูปรีหรือทรงกลม ผิวขรุขระมีตุ่มหรือสะเก็ดสีเทาปนน้ำตาลทั่วไป กว้างประมาณ 3 ซม. ยาว 3-4 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
- สามารถขึ้นได้ทั้งป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณทั่วไปทุกภาค ตั้งแต่ระดับน้ำทะเล จนสูงถึง 1500 เมตร
- สามารถขึ้นได้ทั้งป่าดงดิบ ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณทั่วไปทุกภาค ตั้งแต่ระดับน้ำทะเล จนสูงถึง 1500 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ภูผาเทิบ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- เชียงใหม่
- มุกดาหาร
- กาญจนบุรี, ตาก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
ที่มาของข้อมูล