ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๘ ม. ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ มีใบย่อย ๖ – ๑๒ คู่ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดสีเหลือง ผลเป็นฝักแบนเรียว มีเมล็ดสีดำ ออกดอกช่วงเดือนกันยายน – พฤศจิกายน ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หูใบรูปลิ่มแคบ ใบประกอบมีใบย่อย 7–15 คู่ แกนกลางยาว 10–35 ซม. ก้านใบสั้น ใบย่อยรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 3–7 ซม. ปลายกลมหรือเว้าตื้น มีติ่งแหลม โคนกลม แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 1 ม. ก้านดอกยาว 2–3 ซม. กลีบเลี้ยงคู่นอกยาวประมาณ 5 มม. 3 กลีบใน ยาวประมาณ 9 มม. กลีบดอกรูปเกือบกลม ยาว 1.5–2 ซม. เกสรเพศผู้อันยาว 2 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 ซม. อับเรณูยาว 6–7 มม. อันสั้น 5 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2–4 มม. อับเรณูยาว 5–6 มม. ลดรูป 3 อัน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ฝักรูปแถบ แบน ยาว 20–30 ซม. รอยเชื่อมเป็นสันนูน มี 20–30 เมล็ด
-
ไม้ต้นขนาดเล็กถึงกลาง ลำต้นมักคดงอเป็นปุ่ม เปลือกสีเทาถึงน้ำตาลดำ กิ่งอ่อนมีลายตามยาว และมีขนละเอียดนุ่ม ใบประกอบยอดคู่ ใบย่อยรูปขอบขนาน ด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนนุ่ม ดอกช่อสีเหลืองอยู่ตามปลายกิ่ง ผลเป็นฝักแบนยาวขนเกลี้ยงเป็นร่องมีสีคล้ำ เมล็ดรูปไข่ ยาวแบนสีน้ำตาลอ่อน เรียงตัวตามขวาง
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๑๘ ม. ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ มีใบย่อย ๖ – ๑๒ คู่ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอดสีเหลือง ผลเป็นฝักแบนเรียว มีเมล็ดสีดำ ออกดอกช่วงเดือนกันยายน – พฤศจิกายน ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่ากุดทิง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชชนิดนี้เป็นพืชพื้นเมืองแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบขึ้นตามป่าดิบชื้น ป่าเบญจพรรณ และตามริมน้ำ พบทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ขี้เหล็ก จัดเป็นพืชในวงศ์ Leguminosae นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น ขี้เหล็กแก่น ขี้เหล็กบ้าน ขี้เหล็กหลวง ขี้เหล็กใหญ่ ผักจี้ลี้ ยะหา และขี้เหล็กจิหรี่ เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นขี้เหล็กเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงปานกลาง ผลัดใบ สูงประมาณ 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอเป็นปุ่มเปลือกสีเทาถึงสีน้ำตาลดำ
-
ขี้เหล็ก จัดเป็นพืชในวงศ์ Leguminosae นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น ขี้เหล็กแก่น ขี้เหล็กบ้าน ขี้เหล็กหลวง ขี้เหล็กใหญ่ ผักจี้ลี้ ยะหา และขี้เหล็กจิหรี่ เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นขี้เหล็กเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงปานกลาง ผลัดใบ สูงประมาณ 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอเป็นปุ่มเปลือกสีเทาถึงสีน้ำตาลดำ
-
ขี้เหล็ก จัดเป็นพืชในวงศ์ Leguminosae นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น ขี้เหล็กแก่น ขี้เหล็กบ้าน ขี้เหล็กหลวง ขี้เหล็กใหญ่ ผักจี้ลี้ ยะหา และขี้เหล็กจิหรี่ เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นขี้เหล็กเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงปานกลาง ผลัดใบ สูงประมาณ 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอเป็นปุ่มเปลือกสีเทาถึงสีน้ำตาลดำ
-
ขี้เหล็ก จัดเป็นพืชในวงศ์ Leguminosae นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น ขี้เหล็กแก่น ขี้เหล็กบ้าน ขี้เหล็กหลวง ขี้เหล็กใหญ่ ผักจี้ลี้ ยะหา และขี้เหล็กจิหรี่ เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นขี้เหล็กเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงปานกลาง ผลัดใบ สูงประมาณ 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอเป็นปุ่มเปลือกสีเทาถึงสีน้ำตาลดำ
-
ขี้เหล็ก จัดเป็นพืชในวงศ์ Leguminosae นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน เช่น ขี้เหล็กแก่น ขี้เหล็กบ้าน ขี้เหล็กหลวง ขี้เหล็กใหญ่ ผักจี้ลี้ ยะหา และขี้เหล็กจิหรี่ เป็นต้น ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นขี้เหล็กเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงปานกลาง ผลัดใบ สูงประมาณ 8-15 เมตร ลำต้นมักคดงอเป็นปุ่มเปลือกสีเทาถึงสีน้ำตาลดำ
การขยายพันธุ์ :
-
นำเอาเมล็ดมาเพาะแล้วนำไปปลูก
-
นำเอาเมล็ดมาเพาะแล้วนำไปปลูก
-
นำเอาเมล็ดมาเพาะแล้วนำไปปลูก
-
นำเอาเมล็ดมาเพาะแล้วนำไปปลูก
-
นำเอาเมล็ดมาเพาะแล้วนำไปปลูก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงกาฬ
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
ชลบุรี
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
ชลบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
บึงกาฬ
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
พะเยา
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
สุรินทร์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,ดอกอ่อนและใบอ่อนรับประทานได้ มีสรรพคุณทางสมุนไพรช่วยคลายความเครียดวิตกกังวล และช่วยให้นอนหลับแต่ไม่ควรใช้ในสตรีมีครรภ์เป็นยาระบายอ่อนๆ
-
เปลือก แก่นและใบ มี anthraquinone glycoside เช่น rhein, aloe-emodin, Chrysophanol และ Sennoside
- ใบขี้เหล็กมีแคลเซียมและฟอสฟอรัสสูง ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง
- ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานโรค ป้องกันหวัด ช่วยทำให้แผลหายเร็วขึ้น ดอกมีสาร chromone ชื่อ Barakol และสารขมชื่อ cassiamin
- และมีวิตามินที่ช่วยบำรุงและรักษาสายตา
- ใช้ใบแห้งหนัก 30 กรัม หรือใบสดหนัก 50 กรัม ต้มเอาน้ำดื่มก่อนนอน แก้อาการนอนไม่หลับ กังวล เบื่ออาหาร
- ยอดอ่อนนำมาแกงเป็นอาหารและเป็นยาระบาย
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
-
เปลือก แก่น ใบ ยอดอ่อน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช