ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูงได้ถึง 10 เมตร ใบเป็นใบประกอบ ใบย่อย 6-10 ใบ เรียงสลับ ผิวเกลี้ยง รูปรีแกมขอบขนาน โคนใบเว้าเล็กน้อย ปลายแหลม ก้านใบย่อยยาวประมาณ 3 มม. ดอกออกเป็นช่อ ยาว 15-20 ซม. มีขนนุ่ม ดอกย่อยขนาดเล็ก สีครีมอมเขียว กลีบดอกมี 4-5 กลีบ เรียงเวียน เกสรผู้ 5-8 อัน รังไข่มี 2 ช่อง ผลสีเหลืองส้ม เปลือกหนาคล้ายหนัง ภายในกลวง มีลักษณะเป็น 2 พู เมื่อแก่แตก 2 ข้าง เมล็ดค่อนข้างกลม สีดำมัน ขนาด 0.5-0.8 ซม.
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 เมตร กิ่งอ่อนมีขนยาวหนาแน่น ใบ:ใบประกอบมีใบย่อย 2-6 คู่ เรียงสลับ ยาว 20-40 เซนติเมตร ใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี ยาว 5-30 เซนติเมตร ใบคู่ล่างมีขนาดเล็กกว่าคู่บน ปลายใบแหลม มนหรือกลม โคนใบแหลม กลมหรือรูปหัวใจตื้นๆ เบี้ยวเล็กน้อย แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนประปรายทั้งสองด้านดอก:ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาว 4-35 เซนติเมตร ใบประดับรูปใบหอก ร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนหรืออมเหลือง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่กลับ ติดทน มีขน กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร ค่อนข้างบาง โคนเป็นติ่ง เกสรเพศผู้มีประมาณ 5 อัน สั้นกว่ากลีบดอกเล็กน้อย อับเรณูสีส้มอ่อน ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตรผล:ผลแบบแคปซูล สีเขียวอมน้ำตาล สุกสีส้มถึงแดง ทรงรีกว้าง มี 2 พู คล้ายรูปหัวใจกลับ เมล็ดสีน้ำตาลดำ ทรงรีเปลือก:อื่นๆ:

ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 เมตร กิ่งอ่อนมีขนยาวหนาแน่น
ใบประกอบมีใบย่อย 2-6 คู่ เรียงสลับ ยาว 20-40 เซนติเมตร ใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี ยาว 5-30 เซนติเมตร ใบคู่ล่างมีขนาดเล็กกว่าคู่บน ปลายใบแหลม มนหรือกลม โคนใบแหลม กลมหรือรูปหัวใจตื้นๆ เบี้ยวเล็กน้อย แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนประปรายทั้งสองด้าน
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาว 4-35 เซนติเมตร ใบประดับรูปใบหอก ร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนหรืออมเหลือง มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่กลับ ติดทน มีขน กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร ค่อนข้างบาง โคนเป็นติ่ง เกสรเพศผู้มีประมาณ 5 อัน สั้นกว่ากลีบดอกเล็กน้อย อับเรณูสีส้มอ่อน ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร
ผลแบบแคปซูล สีเขียวอมน้ำตาล สุกสีส้มถึงแดง ทรงรีกว้าง มี 2 พู คล้ายรูปหัวใจกลับ เมล็ดสีน้ำตาลดำ ทรงรี

- ไม้ต้นขนาดกลาง สูงได้ถึง 10 เมตร ใบเป็นใบประกอบ ใบย่อย 6-10 ใบ เรียงสลับ ผิวเกลี้ยง รูปรีแกมขอบขนาน โคนใบเว้าเล็กน้อย ปลายแหลม ก้านใบย่อยยาวประมาณ 3 มม. ดอกออกเป็นช่อ ยาว 15-20 ซม. มีขนนุ่ม ดอกย่อยขนาดเล็ก สีครีมอมเขียว กลีบดอกมี 4-5 กลีบ เรียงเวียน เกสรผู้ 5-8 อัน รังไข่มี 2 ช่อง ผลสีเหลืองส้ม เปลือกหนาคล้ายหนัง ภายในกลวง มีลักษณะเป็น 2 พู เมื่อแก่แตก 2 ข้าง เมล็ดค่อนข้างกลม สีดำมัน ขนาด 0.5-0.8 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบในอินเดีย กระจายจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบกระจายในป่ากึ่งดงดิบที่ชื้นหรือบริเวณริมห้วย ที่ความสูง 300-700 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกติดผลเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
- ขึ้นในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ต่างประเทศพบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ ภูมิภาคมาเลเซียจนถึงออสเตรเลีย
- พบในอินเดีย กระจายจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบกระจายในป่ากึ่งดงดิบที่ชื้นหรือบริเวณริมห้วย ที่ความสูง 300-700 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกติดผลเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- จันทบุรี
- เลย
- เชียงใหม่
- กำแพงเพชร
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- แพร่, อุตรดิตถ์
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ชุมพร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ไม้ดอกไม้ประดับ