ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 15-20 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. ใบอ่อนสีชมพูอ่อน ดอกสีขาว ออกเดี่ยว หรือเป็นคู่ที่ซอกใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7.5 ซม. ดอกห้อยลง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปร่างกลม กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับกว้าง ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 ซม. สีส้มแก่หรือสีม่วง ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้น สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลา เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทาใบ:ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปหอกหรือขอบขนาน ปลายเรียวแหลม กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 8-10 เซนติเมตร โคนใบสอบ ใบอ่อนสีชมพู ใบแก่มีคราบขาวท่างด้านล่าง เส้นใบถี่ดอก:ดอกสีขาวหรือสีนวล กลิ่นหอมแรง ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกระจุก กระจุกละ 2-3 ดอก ตามซอกใบ ดอกกว้าง 5-10 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงรูปช้อนเป็นกระพุ้ง มี 2 ชั้นๆ ละ 2 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่กว้าง ขอบเป็นคลื่นเล็กน้อย เกสรผู้จำนวนมากสีเหลืองผล:ผลรูปไข่ แข็ง กว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 4 เซนติเมตร ปลายโค้งแหลม มีกลีบเลี้ยงขยายโตขึ้นเป็นกาบหุ้มผล 4 กาบ ภายในมีเมล็ด 1-2 เมล็ดเปลือก:อื่นๆ:

ไม้ต้น สูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลา เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา
ใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปหอกหรือขอบขนาน ปลายเรียวแหลม กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 8-10 เซนติเมตร โคนใบสอบ ใบอ่อนสีชมพู ใบแก่มีคราบขาวท่างด้านล่าง เส้นใบถี่
ดอกสีขาวหรือสีนวล กลิ่นหอมแรง ออกเดี่ยวๆ หรือเป็นกระจุก กระจุกละ 2-3 ดอก ตามซอกใบ ดอกกว้าง 5-10 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงรูปช้อนเป็นกระพุ้ง มี 2 ชั้นๆ ละ 2 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่กว้าง ขอบเป็นคลื่นเล็กน้อย เกสรผู้จำนวนมากสีเหลือง
ผลรูปไข่ แข็ง กว้าง 2 เซนติเมตร ยาว 4 เซนติเมตร ปลายโค้งแหลม มีกลีบเลี้ยงขยายโตขึ้นเป็นกาบหุ้มผล 4 กาบ ภายในมีเมล็ด 1-2 เมล็ด

- ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มรูปเจดีย์ เปลือกบาง น้ำยางมีกลิ่นหอม ใบเรียงตรงข้าม รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 4–12 ซม. ปลายใบแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบยาว 5–8 มม. เส้นแขนงใบย่อยจำนวนมาก เรียงขนานเบี้ยว ๆ ใบอ่อนสีน้ำตาลแดง มักห้อยลง ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ก้านดอกยาว 3–5 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลม ๆ คู่นอกขนาดใหญ่กว่าคู่ในเล็กน้อย ขอบบาง ขยายในผล ดอกสีขาว มี 4 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 3–3.5 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูยาว 1.5–2 ซม. รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาว 1–1.5 ซม. ยอดเกสรเบี้ยว ติดทน ผลรูปไข่ ยาวประมาณ 3 ซม. มีรอยย่นตามยาว แตกเป็น 2 ซีก ก้านยาว 0.8–1.2 ซม. มี 1–4 เมล็ด เบี้ยว
- ไม้ต้น สูง 15-20 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. ใบอ่อนสีชมพูอ่อน ดอกสีขาว ออกเดี่ยว หรือเป็นคู่ที่ซอกใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7.5 ซม. ดอกห้อยลง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปร่างกลม กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับกว้าง ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 ซม. สีส้มแก่หรือสีม่วง ออกดอกเดือน มี.ค.-พ.ค.
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นทั่วไปในป่าดิบทางภาคเหนือและภาคใต้ ที่ระดับน้ำทะเล จนถึง 700 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าสายคลองร่มเมือง ป่าสายควน ป่าเกาะอ้ายกลิ้ง(ป่าชุมชนบ้านทุ่งหลวง) ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่ากราด
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ บางลาง
- อุทยานแห่งชาติ บูโด-สุไหงปาดี
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- - ต้นบุนนาค : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 15–25 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา เรือนยอดเป็นพุ่มทึบรูปเจดีย์ต่ำ
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว สีเขียว รูปไข่ยาวเรียวแคบ ขอบใบเรียบ ท้องใบสีขาวนวลอมเทาเป็นมันคล้ายใบมะปราง
- ดอก : ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกเป็นกระจุกสีขาวนวล กลีบดอกมี 5 กลีบและมีกลิ่นหอม เกสรเพศผู้เป็นฝอยสีเหลืองจำนวนมาก
- ผล : เป็นรูปไข่ เปลือกแข็ง
- - ต้นบุนนาค : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 15–25 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา เรือนยอดเป็นพุ่มทึบรูปเจดีย์ต่ำ
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว สีเขียว รูปไข่ยาวเรียวแคบ ขอบใบเรียบ ท้องใบสีขาวนวลอมเทาเป็นมันคล้ายใบมะปราง
- ดอก : ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกเป็นกระจุกสีขาวนวล กลีบดอกมี 5 กลีบและมีกลิ่นหอม เกสรเพศผู้เป็นฝอยสีเหลืองจำนวนมาก
- ผล : เป็นรูปไข่ เปลือกแข็ง
- - ต้นบุนนาค : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 15–25 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา เรือนยอดเป็นพุ่มทึบรูปเจดีย์ต่ำ
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว สีเขียว รูปไข่ยาวเรียวแคบ ขอบใบเรียบ ท้องใบสีขาวนวลอมเทาเป็นมันคล้ายใบมะปราง
- ดอก : ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกเป็นกระจุกสีขาวนวล กลีบดอกมี 5 กลีบและมีกลิ่นหอม เกสรเพศผู้เป็นฝอยสีเหลืองจำนวนมาก
- ผล : เป็นรูปไข่ เปลือกแข็ง
- - ต้นบุนนาค : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 15–25 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา เรือนยอดเป็นพุ่มทึบรูปเจดีย์ต่ำ
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว สีเขียว รูปไข่ยาวเรียวแคบ ขอบใบเรียบ ท้องใบสีขาวนวลอมเทาเป็นมันคล้ายใบมะปราง
- ดอก : ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกเป็นกระจุกสีขาวนวล กลีบดอกมี 5 กลีบและมีกลิ่นหอม เกสรเพศผู้เป็นฝอยสีเหลืองจำนวนมาก
- ผล : เป็นรูปไข่ เปลือกแข็ง
- - ต้นบุนนาค : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่สูง 15–25 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา เรือนยอดเป็นพุ่มทึบรูปเจดีย์ต่ำ
- ใบ : เป็นใบเดี่ยว สีเขียว รูปไข่ยาวเรียวแคบ ขอบใบเรียบ ท้องใบสีขาวนวลอมเทาเป็นมันคล้ายใบมะปราง
- ดอก : ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกเป็นกระจุกสีขาวนวล กลีบดอกมี 5 กลีบและมีกลิ่นหอม เกสรเพศผู้เป็นฝอยสีเหลืองจำนวนมาก
- ผล : เป็นรูปไข่ เปลือกแข็ง
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สงขลา
- สงขลา
- สงขลา
- สงขลา
- ระนอง
- จันทบุรี
- พัทลุง
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- นครศรีธรรมราช
- ยะลา
- นราธิวาส
- ชัยภูมิ
- เชียงใหม่
- สงขลา
- สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- กระบี่, ตรัง
- กระบี่, ตรัง
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- ชุมพร, ระนอง
- พะเยา, น่าน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สตูล, สงขลา
- สตูล, สงขลา
- พังงา
- พังงา
- ระนอง, ชุมพร
- ระนอง, ชุมพร
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- ตาก
- พะเยา
- ชุมพร
- ชุมพร
- ชุมพร
- ชุมพร
- ชุมพร
- ตาก
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ราก แก้ลมในลำไส้ กระพี้ ขับเสมหะในลำคอ ไม้เหนียวแข็ง ทนทาน ใช้ทำหมอนรองรางรถไฟ ก่อสร้าง ต่อเรือ ทำพานท้าย และรางปืน และด้ามร่ม ใบ พอกแผลสด ดอก ใช้ผสมสี เพื่อช่วยให้สีติดคงทน เมล็ด กลั่นน้ำมันใช้จุดตะเกียง และทำเครื่องสำอางค์