ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ที่มีความสูงของต้นได้ประมาณ 3-12 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง กิ่งเล็กเป็นสีน้ำตาล มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบในจีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายแบบห่าง ๆ ทุกภาค แต่พบได้มากทางภาคใต้ จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ใบพลองขี้ควาย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรี ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบเป็นรูปลิ่มหรือกลม ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดยาวประมาณ 8-16 เซนติเมตร แผ่นใบค่อนข้างหนา เรียบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้มและเป็นมัน ส่วนท้องใบเป็นสีอ่อนกว่า ก้านใบยาวประมาณ 0.2-1 เซนติเมตร ดอกพลองขี้ควาย ออกดอกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ก้านช่อยาวประมาณ 0.5-1.2 เซนติเมตร ดอกเป็นสีม่วงแกมสีน้ำเงิน ใบประดับมีขนาดเล็ก ยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ก้านดอกยาวประมาณ 2-5 มิลลิเมตร ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยตื้น ๆ ยาวได้ประมาณ 1.5-3 มิลลิเมตร เกลี้ยง กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4 กลีบ กลีบดอกมีลักษณะย่น มี 4 กลีบ สีม่วง ลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายแหลม ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร โคนกลีบเชื่อมติดกัน ดอกมีเกสรเพศผู้ 8 อัน สีม่วง ยาวได้ประมาณ 2.5 มิลลิเมตร รวมอับเรณู อับเรณูยาวประมาณ 1-1.5 มิลลิเมตร ที่ปลายมีรยางค์ มีต่อมที่โคน ส่วนรังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ลักษณะเป็นรูปไข่ ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ผลพลองขี้ควาย ผลคล้ายผลสดมีเมล็ดเดียวที่เจริญ ลักษณะของผลเป็นรูปไข่รี ๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ผิวผลเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนเป็นสีเขียวหรือสีชมพูอมม่วง พอสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงเข้มหรือสีม่วงดำ เมล็ดมีลักษณะกลม เปลือกแข็ง
- จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ที่มีความสูงของต้นได้ประมาณ 3-12 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง กิ่งเล็กเป็นสีน้ำตาล มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบในจีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายแบบห่าง ๆ ทุกภาค แต่พบได้มากทางภาคใต้ จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ใบพลองขี้ควาย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรี ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบเป็นรูปลิ่มหรือกลม ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดยาวประมาณ 8-16 เซนติเมตร แผ่นใบค่อนข้างหนา เรียบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้มและเป็นมัน ส่วนท้องใบเป็นสีอ่อนกว่า ก้านใบยาวประมาณ 0.2-1 เซนติเมตร ดอกพลองขี้ควาย ออกดอกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ก้านช่อยาวประมาณ 0.5-1.2 เซนติเมตร ดอกเป็นสีม่วงแกมสีน้ำเงิน ใบประดับมีขนาดเล็ก ยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ก้านดอกยาวประมาณ 2-5 มิลลิเมตร ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยตื้น ๆ ยาวได้ประมาณ 1.5-3 มิลลิเมตร เกลี้ยง กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4 กลีบ กลีบดอกมีลักษณะย่น มี 4 กลีบ สีม่วง ลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายแหลม ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร โคนกลีบเชื่อมติดกัน ดอกมีเกสรเพศผู้ 8 อัน สีม่วง ยาวได้ประมาณ 2.5 มิลลิเมตร รวมอับเรณู อับเรณูยาวประมาณ 1-1.5 มิลลิเมตร ที่ปลายมีรยางค์ มีต่อมที่โคน ส่วนรังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ลักษณะเป็นรูปไข่ ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ผลพลองขี้ควาย ผลคล้ายผลสดมีเมล็ดเดียวที่เจริญ ลักษณะของผลเป็นรูปไข่รี ๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ผิวผลเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนเป็นสีเขียวหรือสีชมพูอมม่วง พอสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงเข้มหรือสีม่วงดำ เมล็ดมีลักษณะกลม เปลือกแข็ง
- จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ที่มีความสูงของต้นได้ประมาณ 3-12 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง กิ่งเล็กเป็นสีน้ำตาล มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบในจีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายแบบห่าง ๆ ทุกภาค แต่พบได้มากทางภาคใต้ จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ใบพลองขี้ควาย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรี ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบเป็นรูปลิ่มหรือกลม ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดยาวประมาณ 8-16 เซนติเมตร แผ่นใบค่อนข้างหนา เรียบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้มและเป็นมัน ส่วนท้องใบเป็นสีอ่อนกว่า ก้านใบยาวประมาณ 0.2-1 เซนติเมตร ดอกพลองขี้ควาย ออกดอกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ก้านช่อยาวประมาณ 0.5-1.2 เซนติเมตร ดอกเป็นสีม่วงแกมสีน้ำเงิน ใบประดับมีขนาดเล็ก ยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ก้านดอกยาวประมาณ 2-5 มิลลิเมตร ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยตื้น ๆ ยาวได้ประมาณ 1.5-3 มิลลิเมตร เกลี้ยง กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4 กลีบ กลีบดอกมีลักษณะย่น มี 4 กลีบ สีม่วง ลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายแหลม ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร โคนกลีบเชื่อมติดกัน ดอกมีเกสรเพศผู้ 8 อัน สีม่วง ยาวได้ประมาณ 2.5 มิลลิเมตร รวมอับเรณู อับเรณูยาวประมาณ 1-1.5 มิลลิเมตร ที่ปลายมีรยางค์ มีต่อมที่โคน ส่วนรังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ลักษณะเป็นรูปไข่ ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ผลพลองขี้ควาย ผลคล้ายผลสดมีเมล็ดเดียวที่เจริญ ลักษณะของผลเป็นรูปไข่รี ๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ผิวผลเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนเป็นสีเขียวหรือสีชมพูอมม่วง พอสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงเข้มหรือสีม่วงดำ เมล็ดมีลักษณะกลม เปลือกแข็ง
- จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ที่มีความสูงของต้นได้ประมาณ 3-12 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง กิ่งเล็กเป็นสีน้ำตาล มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง พบในจีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ส่วนในประเทศไทยพบกระจายแบบห่าง ๆ ทุกภาค แต่พบได้มากทางภาคใต้ จนถึงระดับความสูงประมาณ 1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ใบพลองขี้ควาย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรี ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบเป็นรูปลิ่มหรือกลม ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดยาวประมาณ 8-16 เซนติเมตร แผ่นใบค่อนข้างหนา เรียบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้มและเป็นมัน ส่วนท้องใบเป็นสีอ่อนกว่า ก้านใบยาวประมาณ 0.2-1 เซนติเมตร ดอกพลองขี้ควาย ออกดอกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ก้านช่อยาวประมาณ 0.5-1.2 เซนติเมตร ดอกเป็นสีม่วงแกมสีน้ำเงิน ใบประดับมีขนาดเล็ก ยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ร่วงได้ง่าย ก้านดอกยาวประมาณ 2-5 มิลลิเมตร ฐานรองดอกเป็นรูปถ้วยตื้น ๆ ยาวได้ประมาณ 1.5-3 มิลลิเมตร เกลี้ยง กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ 4 กลีบ กลีบดอกมีลักษณะย่น มี 4 กลีบ สีม่วง ลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายแหลม ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร โคนกลีบเชื่อมติดกัน ดอกมีเกสรเพศผู้ 8 อัน สีม่วง ยาวได้ประมาณ 2.5 มิลลิเมตร รวมอับเรณู อับเรณูยาวประมาณ 1-1.5 มิลลิเมตร ที่ปลายมีรยางค์ มีต่อมที่โคน ส่วนรังไข่อยู่ใต้วงกลีบ ลักษณะเป็นรูปไข่ ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ผลพลองขี้ควาย ผลคล้ายผลสดมีเมล็ดเดียวที่เจริญ ลักษณะของผลเป็นรูปไข่รี ๆ มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ผิวผลเรียบเกลี้ยง ผลอ่อนเป็นสีเขียวหรือสีชมพูอมม่วง พอสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงเข้มหรือสีม่วงดำ เมล็ดมีลักษณะกลม เปลือกแข็ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พิษณุโลก
- สระบุรี
- สงขลา
- นครราชสีมา
- นครราชสีมา
- เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- พัทลุง
- พังงา
- ประจวบคีรีขันธ์
- ประจวบคีรีขันธ์
- จันทบุรี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- สระบุรี
- สระแก้ว
- เลย
- สงขลา
- ชุมพร
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- ชุมพร, ระนอง
- ลพบุรี
- สตูล, สงขลา
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- พะเยา
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
- อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
- อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง