ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 8-10 เมตร เปลือกแตกเป็นร่องลึกตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานป้อมแกมรี กว้าง 6-10 ซม. ยาว 10-16 ซม. โคนใบมน ปลายใบทู่ ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแน่น ก้านใบยาว 0.5 ซม. ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกแยกเพศและต่างต้น ดอกเพศผู้ขนาดเล็กออกชิดกันบนช่อแกน ยาว 2-4 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นถ้วย ปลายแยกเป็น 3-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้มี 2 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อเช่นเดียวกับดอกเพศผู้ แต่สั้นกว่ามาก ส่วนใหญ่จะออกเป็นแท่งเดี่ยวๆ ผลรูปไข่ปลายเป็นติ่งแหลม ผิวมีขนสีน้ำตาลแกมเหลืองหนาแน่น กว้าง 7 มม. ยาว 10 มม. ภายในมีเนื้อสีส้ม เมล็ดมี 1 เมล็ด
- ไม้ต้น สูง 8-10 เมตร เปลือกแตกเป็นร่องลึกตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานป้อมแกมรี กว้าง 6-10 ซม. ยาว 10-16 ซม. โคนใบมน ปลายใบทู่ ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแน่น ก้านใบยาว 0.5 ซม. ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกแยกเพศและต่างต้น ดอกเพศผู้ขนาดเล็กออกชิดกันบนช่อแกน ยาว 2-4 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นถ้วย ปลายแยกเป็น 3-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้มี 2 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อเช่นเดียวกับดอกเพศผู้ แต่สั้นกว่ามาก ส่วนใหญ่จะออกเป็นแท่งเดี่ยวๆ ผลรูปไข่ปลายเป็นติ่งแหลม ผิวมีขนสีน้ำตาลแกมเหลืองหนาแน่น กว้าง 7 มม. ยาว 10 มม. ภายในมีเนื้อสีส้ม เมล็ดมี 1 เมล็ด
- ไม้ต้น สูง 8-10 เมตร เปลือกแตกเป็นร่องลึกตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานป้อมแกมรี กว้าง 6-10 ซม. ยาว 10-16 ซม. โคนใบมน ปลายใบทู่ ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแน่น ก้านใบยาว 0.5 ซม. ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกแยกเพศและต่างต้น ดอกเพศผู้ขนาดเล็กออกชิดกันบนช่อแกน ยาว 2-4 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นถ้วย ปลายแยกเป็น 3-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้มี 2 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อเช่นเดียวกับดอกเพศผู้ แต่สั้นกว่ามาก ส่วนใหญ่จะออกเป็นแท่งเดี่ยวๆ ผลรูปไข่ปลายเป็นติ่งแหลม ผิวมีขนสีน้ำตาลแกมเหลืองหนาแน่น กว้าง 7 มม. ยาว 10 มม. ภายในมีเนื้อสีส้ม เมล็ดมี 1 เมล็ด
- ไม้ต้น สูง 8-10 เมตร เปลือกแตกเป็นร่องลึกตามยาว ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานป้อมแกมรี กว้าง 6-10 ซม. ยาว 10-16 ซม. โคนใบมน ปลายใบทู่ ขอบใบเรียบ เนื้อใบค่อนข้างหนา ด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสีน้ำตาลแน่น ก้านใบยาว 0.5 ซม. ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบ ดอกแยกเพศและต่างต้น ดอกเพศผู้ขนาดเล็กออกชิดกันบนช่อแกน ยาว 2-4 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นถ้วย ปลายแยกเป็น 3-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้มี 2 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อเช่นเดียวกับดอกเพศผู้ แต่สั้นกว่ามาก ส่วนใหญ่จะออกเป็นแท่งเดี่ยวๆ ผลรูปไข่ปลายเป็นติ่งแหลม ผิวมีขนสีน้ำตาลแกมเหลืองหนาแน่น กว้าง 7 มม. ยาว 10 มม. ภายในมีเนื้อสีส้ม เมล็ดมี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พบขึ้นตามที่โล่งหรือชายป่าดิบเขาทางภาคเหนือ ป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1200 เมตร
- จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พบขึ้นตามที่โล่งหรือชายป่าดิบเขาทางภาคเหนือ ป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1200 เมตร
- จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พบขึ้นตามที่โล่งหรือชายป่าดิบเขาทางภาคเหนือ ป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1200 เมตร
- จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ พบขึ้นตามที่โล่งหรือชายป่าดิบเขาทางภาคเหนือ ป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1200 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- หมอยาพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี - ใช้ ลำต้น ดูกข้าว ดูกไส ดูกหิน ดูกผี แตงแซง ส้มกบ ส้มมอดิน และพากส้มมอ แก้ตัวเหลือง ตาเหลือง หมอยาพื้นบ้านมุกดาหาร - ใช้ เข้ายาโรคกระเพาะอาหาร หมอยาพื้นบ้านภาคเหนือ - ใช้ เปลือกและเนื้อไม้สด เคี้ยวแก้ไข้ ตำรายาไทย - ใช้ เปลือกต้น มียางสีแดงใช้เป็นสีย้อม ปรุงเป็นยาขับลำไส้ และขับระดู แก้แน่นจุกเสียด