ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยงรูปหอกหรือรูปหอกแกมขอบขนาน ขนาดกว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบสอบ ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีก้านดอกยาว 3-5 ซม. กลีบรองดอกหนามี 5 กลีบ สีเหลืองแกมชมพู โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวครีม อยู่รวมกันเป็นก้อนกลม ปลายแหลม ขนาด 1.5-2 ซม. ส่วนบนมีช่องเปิด 5 ช่อง ภายในมีเกสรผู้ 30-40 อัน ผลค่อนข้างกลม ผิวเรียบ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2 ซมง กลีบรองดอกติดอยู่ที่ปลายผล
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยงรูปหอกหรือรูปหอกแกมขอบขนาน ขนาดกว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบสอบ ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีก้านดอกยาว 3-5 ซม. กลีบรองดอกหนามี 5 กลีบ สีเหลืองแกมชมพู โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวครีม อยู่รวมกันเป็นก้อนกลม ปลายแหลม ขนาด 1.5-2 ซม. ส่วนบนมีช่องเปิด 5 ช่อง ภายในมีเกสรผู้ 30-40 อัน ผลค่อนข้างกลม ผิวเรียบ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2 ซมง กลีบรองดอกติดอยู่ที่ปลายผล
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยงรูปหอกหรือรูปหอกแกมขอบขนาน ขนาดกว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบสอบ ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีก้านดอกยาว 3-5 ซม. กลีบรองดอกหนามี 5 กลีบ สีเหลืองแกมชมพู โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวครีม อยู่รวมกันเป็นก้อนกลม ปลายแหลม ขนาด 1.5-2 ซม. ส่วนบนมีช่องเปิด 5 ช่อง ภายในมีเกสรผู้ 30-40 อัน ผลค่อนข้างกลม ผิวเรียบ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2 ซมง กลีบรองดอกติดอยู่ที่ปลายผล
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกสลับ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวเกลี้ยงรูปหอกหรือรูปหอกแกมขอบขนาน ขนาดกว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายใบแหลม ฐานใบสอบ ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีก้านดอกยาว 3-5 ซม. กลีบรองดอกหนามี 5 กลีบ สีเหลืองแกมชมพู โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวครีม อยู่รวมกันเป็นก้อนกลม ปลายแหลม ขนาด 1.5-2 ซม. ส่วนบนมีช่องเปิด 5 ช่อง ภายในมีเกสรผู้ 30-40 อัน ผลค่อนข้างกลม ผิวเรียบ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2 ซมง กลีบรองดอกติดอยู่ที่ปลายผล
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 4-16 ซม. ปลายมนหรือกลม โคนรูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมักมีนวลและต่อมสีน้ำตาลกระจาย ขอบเรียบหรือจักซี่ฟันช่วงปลายใบ ก้านใบยาว 2-3.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามซอกใบ ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ใบประดับย่อย 2 ใบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 4 มม. ติดทน ขอบมีต่อม กลีบเลี้ยงสีน้ำตาลอมแดงเรียงซ้อนเหลื่อม มี 5 กลีบ รูปไข่กว้าง ยาว 1-1.5 ซม. ขยายในผล ดอกสีครีมหรือเหลืองอ่อน ๆ ยาวประมาณ 1.5 ซม. เชื่อมติดกันประมาณ 5 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปไข่ ปลายแหลม เกสรเพศผู้จำนวนมาก เรียง 1-2 วง ยาว 1.2-1.5 ซม. ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันประมาณ 5 มม. อับเรณูเรียวยาว แกนอับเรณูปลายมีรยางค์ รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ เกลี้ยง มี 2-5 ช่อง พลาเซนตาแบบรอบแกนร่วม ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.5-2 ซม. ปลายจัก 2-5 พู ผลรูปรีเกือบกลม ยาว 2-3.5 ซม. ผนังแข็ง แตกตามรอยกลีบเลี้ยง แต่ละช่องมี 2-3 เมล็ด รูปไข่กลับ ยาว 0.7-1.2 ซม. มีเยื่อหุ้มสดสีแดง
การกระจายพันธุ์ :
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปในป่าระดับสูง หรือบริเวณสันเขาที่ความสูง 850-1,700 เมตร จากระดับน้ำทะเล
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปในป่าระดับสูง หรือบริเวณสันเขาที่ความสูง 850-1,700 เมตร จากระดับน้ำทะเล
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปในป่าระดับสูง หรือบริเวณสันเขาที่ความสูง 850-1,700 เมตร จากระดับน้ำทะเล
- พบตั้งแต่อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบขึ้นทั่วไปในป่าระดับสูง หรือบริเวณสันเขาที่ความสูง 850-1,700 เมตร จากระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- แพร่,น่าน
- พะเยา,น่าน
- เชียงใหม่
- พะเยา, เชียงราย
- เพชรบูรณ์
- จันทบุรี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- กาญจนบุรี
- ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- ลำปาง, ลำพูน
- ลำปาง, ลำพูน
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- ลำพูน, เชียงใหม่
- ลำปาง, ตาก
- ลำปาง, ตาก
- สุโขทัย
- ตาก
- น่าน
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- เชียงใหม่
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- บึงกาฬ
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก
ระบบนิเวศ :
- บประปรายทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าสนเขา และป่าดิบเขา ความสูง 100-2000 เมตร 
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ