ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- Terrestrial fern.
- ว่านกับแรด ได้ชื่อมาจากลักษณะของโคนลำต้น ซึ่งเมื่อโตเต็มที่จะมีลักษณะเป็นกับคล้ายพูหุ้มอยู่ ดูเผิน ๆ คล้ายกับแรด ลำต้นมีลักษณะเป็นแท่งสั้น ๆ จมอยู่ใต้ดินขนาดใหญ่ ก้านใบและตัวใบมีสีเขียวสด มียางเข้มสีแดง กลุ่มของอับสปอร์ออกตามเส้นใบย่อยใกล้ขอบใบ
- โคนก้านใบมีครีบคล้ายหูใบ ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น สูงจากดิน 2.6 เมตร ก้านใบยาว 131 เซนติเมตร เป็นเฟิร์นโบราณ เนื่องจากอับสปอร์มีขนาดเท่าๆกันเรียงเป็นแถวใกล้ขอบใบและที่โคนอับสปอร์เชื่อมติดกัน ซึ่งเป็นลักษณะที่ primitive นิยมนำเฟิร์นชนิดนี้ปลูกเป็นไม้ประดับ
- ว่านกับแรด ได้ชื่อมาจากลักษณะของโคนลำต้น ซึ่งเมื่อโตเต็มที่จะมีลักษณะเป็นกับคล้ายพูหุ้มอยู่ ดูเผิน ๆ คล้ายกับแรด ลำต้นมีลักษณะเป็นแท่งสั้น ๆ จมอยู่ใต้ดินขนาดใหญ่ ก้านใบและตัวใบมีสีเขียวสด มียางเข้มสีแดง กลุ่มของอับสปอร์ออกตามเส้นใบย่อยใกล้ขอบใบ
- ว่านกับแรด ได้ชื่อมาจากลักษณะของโคนลำต้น ซึ่งเมื่อโตเต็มที่จะมีลักษณะเป็นกับคล้ายพูหุ้มอยู่ ดูเผิน ๆ คล้ายกับแรด ลำต้นมีลักษณะเป็นแท่งสั้น ๆ จมอยู่ใต้ดินขนาดใหญ่ ก้านใบและตัวใบมีสีเขียวสด มียางเข้มสีแดง กลุ่มของอับสปอร์ออกตามเส้นใบย่อยใกล้ขอบใบ
- ว่านกับแรด ได้ชื่อมาจากลักษณะของโคนลำต้น ซึ่งเมื่อโตเต็มที่จะมีลักษณะเป็นกับคล้ายพูหุ้มอยู่ ดูเผิน ๆ คล้ายกับแรด ลำต้นมีลักษณะเป็นแท่งสั้น ๆ จมอยู่ใต้ดินขนาดใหญ่ ก้านใบและตัวใบมีสีเขียวสด มียางเข้มสีแดง กลุ่มของอับสปอร์ออกตามเส้นใบย่อยใกล้ขอบใบ
ระบบนิเวศ :
- Common in forest throughout Thailand.
การกระจายพันธุ์ :
- Asian tropics and subtropics through
Polynesia.
- กระจายพันธุ์ได้ดีในแระเทศไทย พบตามป่าดิบเขา ที่มีร่มเงาและความชื้นสูง ภายในสวนพฤกษศาสตร์พบเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะตามห้วยต่าง ๆ เช่น ห้วยปู ห้วยเฮี๊ยะ ห้วยแม่สาน้อย และห้วยแม่แมะ
- กระจายพันธุ์ได้ดีในแระเทศไทย พบตามป่าดิบเขา ที่มีร่มเงาและความชื้นสูง ภายในสวนพฤกษศาสตร์พบเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะตามห้วยต่าง ๆ เช่น ห้วยปู ห้วยเฮี๊ยะ ห้วยแม่สาน้อย และห้วยแม่แมะ
- กระจายพันธุ์ได้ดีในแระเทศไทย พบตามป่าดิบเขา ที่มีร่มเงาและความชื้นสูง ภายในสวนพฤกษศาสตร์พบเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะตามห้วยต่าง ๆ เช่น ห้วยปู ห้วยเฮี๊ยะ ห้วยแม่สาน้อย และห้วยแม่แมะ
- กระจายพันธุ์ได้ดีในแระเทศไทย พบตามป่าดิบเขา ที่มีร่มเงาและความชื้นสูง ภายในสวนพฤกษศาสตร์พบเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะตามห้วยต่าง ๆ เช่น ห้วยปู ห้วยเฮี๊ยะ ห้วยแม่สาน้อย และห้วยแม่แมะ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ThroughoutThailand
- เชียงใหม่, กาญจนบุรี, นครปฐม, เลย, หนองบัวลำภู
- แพร่,น่าน
- เชียงใหม่
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชุมพร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
- ป่าดอยอินทนนท์, น้ำตกสิริภูมิ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- เฟิร์นบนดิน พบเป็นหย่อมริมน้ำ
ที่มาของข้อมูล