ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาขนาดใหญ่ มีขนนุ่ม เลื้อยพันต้นไม้อื่น ปลายกิ่งทอดย้อยลง ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่แกมรูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-13 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่งสั้น โคนมน เนื้อใบสาก ดอกออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ประกอบด้วยช่อย่อยเป็นกระจุก มี 5-7 ดอก มีใบประดับรองรับ 3 ใบ สีชมพูอมม่วง รูปไข่กลับแกมขอบขนาน กว้างประมาณ 0.8 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. โคนเชื่อมกัน ดอกย่อยสีขาวมีขนาดเล็ก หลุดร่วงง่าย กลีบดอกส่วนโคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 2 ส่วน ขนาดไม่เท่ากัน ส่วนบน 2 กลีบ ส่วนล่าง 3 กลีบ กลีบรองดอกมี 5 แฉก ติดอยู่เมื่อเป็นผล เกสรผู้ 4 อัน ผลขนาดเล็ก รูปไข่กลีบ มีใบประดับติดที่ขั้ว เมล็ดมี 1 เมล็ด
-
ไม้เถา
-
ไม้เถาขนาดใหญ่ มีขนนุ่ม เลื้อยพันต้นไม้อื่น ปลายกิ่งทอดย้อยลง ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่แกมรูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-13 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่งสั้น โคนมน เนื้อใบสาก ดอกออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ประกอบด้วยช่อย่อยเป็นกระจุก มี 5-7 ดอก มีใบประดับรองรับ 3 ใบ สีชมพูอมม่วง รูปไข่กลับแกมขอบขนาน กว้างประมาณ 0.8 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. โคนเชื่อมกัน ดอกย่อยสีขาวมีขนาดเล็ก หลุดร่วงง่าย กลีบดอกส่วนโคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 2 ส่วน ขนาดไม่เท่ากัน ส่วนบน 2 กลีบ ส่วนล่าง 3 กลีบ กลีบรองดอกมี 5 แฉก ติดอยู่เมื่อเป็นผล เกสรผู้ 4 อัน ผลขนาดเล็ก รูปไข่กลีบ มีใบประดับติดที่ขั้ว เมล็ดมี 1 เมล็ด
-
ไม้เถาขนาดใหญ่ มีขนนุ่ม เลื้อยพันต้นไม้อื่น ปลายกิ่งทอดย้อยลง ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่แกมรูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-13 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่งสั้น โคนมน เนื้อใบสาก ดอกออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ประกอบด้วยช่อย่อยเป็นกระจุก มี 5-7 ดอก มีใบประดับรองรับ 3 ใบ สีชมพูอมม่วง รูปไข่กลับแกมขอบขนาน กว้างประมาณ 0.8 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. โคนเชื่อมกัน ดอกย่อยสีขาวมีขนาดเล็ก หลุดร่วงง่าย กลีบดอกส่วนโคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 2 ส่วน ขนาดไม่เท่ากัน ส่วนบน 2 กลีบ ส่วนล่าง 3 กลีบ กลีบรองดอกมี 5 แฉก ติดอยู่เมื่อเป็นผล เกสรผู้ 4 อัน ผลขนาดเล็ก รูปไข่กลีบ มีใบประดับติดที่ขั้ว เมล็ดมี 1 เมล็ด
-
ไม้เถาขนาดใหญ่ มีขนนุ่ม เลื้อยพันต้นไม้อื่น ปลายกิ่งทอดย้อยลง ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่แกมรูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 6-13 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่งสั้น โคนมน เนื้อใบสาก ดอกออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ประกอบด้วยช่อย่อยเป็นกระจุก มี 5-7 ดอก มีใบประดับรองรับ 3 ใบ สีชมพูอมม่วง รูปไข่กลับแกมขอบขนาน กว้างประมาณ 0.8 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. โคนเชื่อมกัน ดอกย่อยสีขาวมีขนาดเล็ก หลุดร่วงง่าย กลีบดอกส่วนโคนเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 2 ส่วน ขนาดไม่เท่ากัน ส่วนบน 2 กลีบ ส่วนล่าง 3 กลีบ กลีบรองดอกมี 5 แฉก ติดอยู่เมื่อเป็นผล เกสรผู้ 4 อัน ผลขนาดเล็ก รูปไข่กลีบ มีใบประดับติดที่ขั้ว เมล็ดมี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ออกดอกติดผลเดือนธันวาคม-เมษายน
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ออกดอกติดผลเดือนธันวาคม-เมษายน
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ออกดอกติดผลเดือนธันวาคม-เมษายน
-
มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้ตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ออกดอกติดผลเดือนธันวาคม-เมษายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
ราชบุรี
-
ชุมพร
-
หนองคาย
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ขยี้แล้วทาตรงที่เป็นแผล รักษาโรคน้ากัดเท้า
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำบลแม่กิ๊ก อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |