ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial or lithophytic fern.
-
ใบประกอบแบบขนนก 1 ชั้น ปลายแกนราคิสมีหน่อตาและราคิสด้านบนมีขนหนาแน่น พินนี 30 คู่ ไม่มีก้านพินนี ขอบใบด้านบนหยักน้อยกว่า 1/ 2 ของแผ่นใบ เส้นใบไม่ค่อยชัด ผิวใบมีขนสีน้ำตาล เป็นชนิดเฟิร์นที่คล้าย Adiantum caudatum มาก
-
แตกกอใหม่ได้ง่ายเนื่องจากหน่อตาที่ปลายยอดของใบ จัดเป็นพวก walking fern
-
จัดเป็น walking fern เนื่องจากมีหน่อตาที่ปลายแกนใบ
ระบบนิเวศ :
-
On dry ground or muddy limestone in deciduous or
evergreen forests, up to 1,100 m alt.
evergreen forests, up to 1,100 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Himalaya to W Malesia.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Mostregionsexceptinthesoutheastern
-
อุดรธานี
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เฟิร์นเกาะหิน ลักษณะเป็นกอ
-
เฟิร์นเกาะหิน
-
เฟิร์นเกาะหิน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, น้ำตกแม่กลาง
-
ป่าภูหลวง
-
ผาแต้ม
ที่มาของข้อมูล
-
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช