ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 1-8 ม. ลำต้นคดงอ มีกิ่งก้านต่ำ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ หรือรูปใบกอก กว้าง 4-7 ซม ยาว 8-20 ซม. ขอบใบหยักคล้ายซี่เลื่อย เนื้อใบเนียนเกลี้ยง เส้นใบละเอียด ดอกสีเหลืองขนาดผ่าศูนย์กลาง 3-4 ซม. ออกเป็นช่อกระจุกสั้นๆ ตามปลายกิ่งและง่ามใบใกล้ยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ จะคงอยู่และเปลี่ยนเป็นกลีบผลสีแดงคล้ำ กลีบดอก 5-10 กลีบ หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก ผลค่อนข้างกลม ขนาดประมาณ 1 ซม. สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีดำผิวมัน
- ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 1-8 ม. ลำต้นคดงอ มีกิ่งก้านต่ำ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ หรือรูปใบกอก กว้าง 4-7 ซม ยาว 8-20 ซม. ขอบใบหยักคล้ายซี่เลื่อย เนื้อใบเนียนเกลี้ยง เส้นใบละเอียด ดอกสีเหลืองขนาดผ่าศูนย์กลาง 3-4 ซม. ออกเป็นช่อกระจุกสั้นๆ ตามปลายกิ่งและง่ามใบใกล้ยอด กลีบรองดอก 5 กลีบ จะคงอยู่และเปลี่ยนเป็นกลีบผลสีแดงคล้ำ กลีบดอก 5-10 กลีบ หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก ผลค่อนข้างกลม ขนาดประมาณ 1 ซม. สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีดำผิวมัน
การกระจายพันธุ์ :
- มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นกระจายตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้งทั่วไป ตั้งแต่ระดับความสูง 300-1,200 ม. ทนแล้งและทนไฟป่าได้ดี ออกดอกเดือนมกราคม-พฤษภาคม
- มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นกระจายตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้งทั่วไป ตั้งแต่ระดับความสูง 300-1,200 ม. ทนแล้งและทนไฟป่าได้ดี ออกดอกเดือนมกราคม-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- อุตรดิตถ์,แพร่
- พะเยา,น่าน
- มุกดาหาร
- อุตรดิตถ์
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- นครราชสีมา
- เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี
- เชียงราย
- เชียงราย
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร, ตาก
- ราชบุรี
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- ตาก
- ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- อุบลราชธานี
- เลย
- อุบลราชธานี
- พะเยา, เชียงราย
- ชัยภูมิ
- เลย
- ลำพูน, เชียงใหม่
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, ตาก
- ลำปาง, ตาก
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- ตาก
- กาญจนบุรี
- น่าน
- สุโขทัย
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ตาก
- หนองคาย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- ภูผาเทิบ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก
- - ต้น เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงได้ถึง 12 เมตร กิ่งก้านแผ่ขยายออก ลำต้นมักคดงอ เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องลึก ตามปลายกิ่งมีกาบหุ้มตาแข็งและแหลม
- ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ เป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 12-17 เซนติเมตร ปลายแหลมหรือเรียวแหลม พบบ้างที่ปลายมน โคนแหลมหรือมน ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ผิวใบเรียบ ใบแก่เขียวหม่น เหนียวเหมือนแผ่นหนัง ช่อดอก แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ซอกใบและใกล้ปลายกิ่งที่ไม่มีใบ มักออกดอกพร้อมแตกใบใหม่ แต่ละช่อมี 4-8 ดอก กลีบดอกสีเหลืองสด เวลาบานมักมีสีเหลืองทั้งต้น ช่อยาว 3.5-6 เซนติเมตร ดอกจำนวนมาก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 เซนติเมตร ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงง่าย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5-8 กลีบ สีเหลืองสด กลีบบอบบาง หลุดร่วงง่าย ฐานกลีบแคบ กลีบรูปไข่กลับ
- ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลม กว้าง 8-9 มิลลิเมตร ยาว 1-1.2 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีดำ ผิวมัน
- เมล็ด มี 1 เมล็ด ชั้นหุ้มเมล็ดแข็งขนาดใหญ่ มีเนื้อบางๆ หุ้ม ออกดอกและเป็นผล ระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน
- - ต้น เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงได้ถึง 12 เมตร กิ่งก้านแผ่ขยายออก ลำต้นมักคดงอ เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องลึก ตามปลายกิ่งมีกาบหุ้มตาแข็งและแหลม
- ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ เป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 12-17 เซนติเมตร ปลายแหลมหรือเรียวแหลม พบบ้างที่ปลายมน โคนแหลมหรือมน ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ผิวใบเรียบ ใบแก่เขียวหม่น เหนียวเหมือนแผ่นหนัง ช่อดอก แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ซอกใบและใกล้ปลายกิ่งที่ไม่มีใบ มักออกดอกพร้อมแตกใบใหม่ แต่ละช่อมี 4-8 ดอก กลีบดอกสีเหลืองสด เวลาบานมักมีสีเหลืองทั้งต้น ช่อยาว 3.5-6 เซนติเมตร ดอกจำนวนมาก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 เซนติเมตร ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงง่าย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5-8 กลีบ สีเหลืองสด กลีบบอบบาง หลุดร่วงง่าย ฐานกลีบแคบ กลีบรูปไข่กลับ
- ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลม กว้าง 8-9 มิลลิเมตร ยาว 1-1.2 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีดำ ผิวมัน
- เมล็ด มี 1 เมล็ด ชั้นหุ้มเมล็ดแข็งขนาดใหญ่ มีเนื้อบางๆ หุ้ม ออกดอกและเป็นผล ระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน
- - ต้น เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงได้ถึง 12 เมตร กิ่งก้านแผ่ขยายออก ลำต้นมักคดงอ เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องลึก ตามปลายกิ่งมีกาบหุ้มตาแข็งและแหลม
- ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ เป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 12-17 เซนติเมตร ปลายแหลมหรือเรียวแหลม พบบ้างที่ปลายมน โคนแหลมหรือมน ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ผิวใบเรียบ ใบแก่เขียวหม่น เหนียวเหมือนแผ่นหนัง ช่อดอก แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ซอกใบและใกล้ปลายกิ่งที่ไม่มีใบ มักออกดอกพร้อมแตกใบใหม่ แต่ละช่อมี 4-8 ดอก กลีบดอกสีเหลืองสด เวลาบานมักมีสีเหลืองทั้งต้น ช่อยาว 3.5-6 เซนติเมตร ดอกจำนวนมาก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 เซนติเมตร ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงง่าย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5-8 กลีบ สีเหลืองสด กลีบบอบบาง หลุดร่วงง่าย ฐานกลีบแคบ กลีบรูปไข่กลับ
- ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลม กว้าง 8-9 มิลลิเมตร ยาว 1-1.2 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีดำ ผิวมัน
- เมล็ด มี 1 เมล็ด ชั้นหุ้มเมล็ดแข็งขนาดใหญ่ มีเนื้อบางๆ หุ้ม ออกดอกและเป็นผล ระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน
- - ต้น เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงได้ถึง 12 เมตร กิ่งก้านแผ่ขยายออก ลำต้นมักคดงอ เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องลึก ตามปลายกิ่งมีกาบหุ้มตาแข็งและแหลม
- ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ เป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 12-17 เซนติเมตร ปลายแหลมหรือเรียวแหลม พบบ้างที่ปลายมน โคนแหลมหรือมน ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ผิวใบเรียบ ใบแก่เขียวหม่น เหนียวเหมือนแผ่นหนัง ช่อดอก แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ซอกใบและใกล้ปลายกิ่งที่ไม่มีใบ มักออกดอกพร้อมแตกใบใหม่ แต่ละช่อมี 4-8 ดอก กลีบดอกสีเหลืองสด เวลาบานมักมีสีเหลืองทั้งต้น ช่อยาว 3.5-6 เซนติเมตร ดอกจำนวนมาก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 เซนติเมตร ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงง่าย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5-8 กลีบ สีเหลืองสด กลีบบอบบาง หลุดร่วงง่าย ฐานกลีบแคบ กลีบรูปไข่กลับ
- ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลม กว้าง 8-9 มิลลิเมตร ยาว 1-1.2 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีดำ ผิวมัน
- เมล็ด มี 1 เมล็ด ชั้นหุ้มเมล็ดแข็งขนาดใหญ่ มีเนื้อบางๆ หุ้ม ออกดอกและเป็นผล ระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน
- - ต้น เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ผลัดใบ สูงได้ถึง 12 เมตร กิ่งก้านแผ่ขยายออก ลำต้นมักคดงอ เปลือกสีน้ำตาลเข้ม ลำต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องลึก ตามปลายกิ่งมีกาบหุ้มตาแข็งและแหลม
- ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ เป็นกลุ่มที่ปลายกิ่ง ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 12-17 เซนติเมตร ปลายแหลมหรือเรียวแหลม พบบ้างที่ปลายมน โคนแหลมหรือมน ขอบใบจักฟันเลื่อยถี่ ผิวใบเรียบ ใบแก่เขียวหม่น เหนียวเหมือนแผ่นหนัง ช่อดอก แบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ซอกใบและใกล้ปลายกิ่งที่ไม่มีใบ มักออกดอกพร้อมแตกใบใหม่ แต่ละช่อมี 4-8 ดอก กลีบดอกสีเหลืองสด เวลาบานมักมีสีเหลืองทั้งต้น ช่อยาว 3.5-6 เซนติเมตร ดอกจำนวนมาก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4.5 เซนติเมตร ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงง่าย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5-8 กลีบ สีเหลืองสด กลีบบอบบาง หลุดร่วงง่าย ฐานกลีบแคบ กลีบรูปไข่กลับ
- ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลม กว้าง 8-9 มิลลิเมตร ยาว 1-1.2 เซนติเมตร สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีดำ ผิวมัน
- เมล็ด มี 1 เมล็ด ชั้นหุ้มเมล็ดแข็งขนาดใหญ่ มีเนื้อบางๆ หุ้ม ออกดอกและเป็นผล ระหว่างเดือนมกราคมถึงมิถุนายน
- ไม้พุ่มขนาดเล็ก รูปแบบทรงพุ่มไม่ค่อยแน่นอน แต่ค่อนข้างกลม
การขยายพันธุ์ :
- โดยการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
- โดยการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
- โดยการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
- โดยการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
- โดยการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สามารถนำมาพัฒนาเป็นไม้ประดับได้ ราก เป็นยาขับพยาธิและฟอกน้ำเหลือง
- ผลมีรสมันสุขุม เป็นยาบำรุงร่างกาย ส่วนตำรายาไทยใช้ต้นนำมาต้นกับน้ำดื่ม และตำรายาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานีจะใช้ทั้งต้นนำมาต้มดื่มเป็นยาบำรุงร่างกาย ตำรายาไทยใช้ต้นช้างน้าวนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาบำรุงร่างกาย หรือจะใช้ต้นช้างน้าวผสมกับต้นนมสาว เถาตาไก้ รากน้ำเต้าต้น รากลกครก อย่างละเท่ากัน มาต้มกินเป็นยาบำรุงกำลังก็ได้ ส่วนชาวเขาเผ่ามูเซอจะใช้ราก โดยนำมาตากแห้ง หรือดองกับเหล้าหรือต้มกับน้ำดื่มเป็นยาบำรุงกำลัง เปลือกต้นมีรสขม ช่วยบำรุงหัวใจ เนื้อไม้มีรสจืดเย็นช่วยแก้กษัย ส่วนตำรายาไทยต้นมีสรรพคุณแก้กษัยเช่นกัน หมอยาไทยใหญ่จะใช้สมุนไพรช้างน้าวเพื่อรักษาเด็กที่เป็นซางจ่อยผอม หรือสภาวะที่ภูมิคุ้มกันในร่างกายไม่ดีเป็นโรคเรื้อรัง มีการติดเชื้อบางชนิดที่ร่างกายไม่สามารถกำจัดได้ ช่วยแก้ดีซ่าน เปลือกต้นมีรสขม ใช้ปรุงเป็นยาช่วยทำให้เจริญอาหาร ช่วยแก้โลหิตพิการ รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้เบาหวาน ช่วยดับพิษร้อนในร่างกาย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ