ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เถาเลื้อยพันต้นอื่น ทุกส่วนมียางขาว ลำต้นค่อนข้างแบน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงวน ส่วนใหญ่จะเป็นรูปไข่กว้าง แผ่นใบเรียบ โคนใบเว้ารูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือมน ขนาดกว้าง 4-7 ซม. ยาว 6-12 ซม. ดอกเล็กสีขาว ออกเป็นช่อ ขนาดยาวประมาณ 3-8 ซม. ดอกย่อยจะเรียงออกด้านเดียว ซึ่งทำให้ช่อดอกโน้มไปข้างหนึ่งและมักจะม้วนงอ ผลสีเขียว รูปไข่กลับแกมรีลักษณะแบน มีปีก 2 ปีก มีเส้นแขนงละเอียดเรียงขนานกัน ขนาดกว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. ที่ส่วนปลายสุดเป็นติ่งของยอดเกสรตัวเมียที่คงความเขียวอยู่ได้นานปรากฏเด่นชัด
- ไม้เถ้าล้มลุก
- ไม้เถาเลื้อยพันต้นอื่น ทุกส่วนมียางขาว ลำต้นค่อนข้างแบน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงวน ส่วนใหญ่จะเป็นรูปไข่กว้าง แผ่นใบเรียบ โคนใบเว้ารูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือมน ขนาดกว้าง 4-7 ซม. ยาว 6-12 ซม. ดอกเล็กสีขาว ออกเป็นช่อ ขนาดยาวประมาณ 3-8 ซม. ดอกย่อยจะเรียงออกด้านเดียว ซึ่งทำให้ช่อดอกโน้มไปข้างหนึ่งและมักจะม้วนงอ ผลสีเขียว รูปไข่กลับแกมรีลักษณะแบน มีปีก 2 ปีก มีเส้นแขนงละเอียดเรียงขนานกัน ขนาดกว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. ที่ส่วนปลายสุดเป็นติ่งของยอดเกสรตัวเมียที่คงความเขียวอยู่ได้นานปรากฏเด่นชัด
- ไม้เถาเลื้อยพันต้นอื่น ทุกส่วนมียางขาว ลำต้นค่อนข้างแบน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงวน ส่วนใหญ่จะเป็นรูปไข่กว้าง แผ่นใบเรียบ โคนใบเว้ารูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือมน ขนาดกว้าง 4-7 ซม. ยาว 6-12 ซม. ดอกเล็กสีขาว ออกเป็นช่อ ขนาดยาวประมาณ 3-8 ซม. ดอกย่อยจะเรียงออกด้านเดียว ซึ่งทำให้ช่อดอกโน้มไปข้างหนึ่งและมักจะม้วนงอ ผลสีเขียว รูปไข่กลับแกมรีลักษณะแบน มีปีก 2 ปีก มีเส้นแขนงละเอียดเรียงขนานกัน ขนาดกว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. ที่ส่วนปลายสุดเป็นติ่งของยอดเกสรตัวเมียที่คงความเขียวอยู่ได้นานปรากฏเด่นชัด
- ไม้เถาเลื้อยพันต้นอื่น ทุกส่วนมียางขาว ลำต้นค่อนข้างแบน ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงวน ส่วนใหญ่จะเป็นรูปไข่กว้าง แผ่นใบเรียบ โคนใบเว้ารูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือมน ขนาดกว้าง 4-7 ซม. ยาว 6-12 ซม. ดอกเล็กสีขาว ออกเป็นช่อ ขนาดยาวประมาณ 3-8 ซม. ดอกย่อยจะเรียงออกด้านเดียว ซึ่งทำให้ช่อดอกโน้มไปข้างหนึ่งและมักจะม้วนงอ ผลสีเขียว รูปไข่กลับแกมรีลักษณะแบน มีปีก 2 ปีก มีเส้นแขนงละเอียดเรียงขนานกัน ขนาดกว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. ที่ส่วนปลายสุดเป็นติ่งของยอดเกสรตัวเมียที่คงความเขียวอยู่ได้นานปรากฏเด่นชัด
การกระจายพันธุ์ :
- จากเอเชียใต้ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป่าผลัดใบ ป่าไผ่และตามที่รกร้าง ที่ความสูงระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 600 เมตร
- จากเอเชียใต้ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป่าผลัดใบ ป่าไผ่และตามที่รกร้าง ที่ความสูงระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 600 เมตร
- จากเอเชียใต้ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป่าผลัดใบ ป่าไผ่และตามที่รกร้าง ที่ความสูงระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 600 เมตร
- จากเอเชียใต้ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณป่าผลัดใบ ป่าไผ่และตามที่รกร้าง ที่ความสูงระดับน้ำทะเลจนถึงระดับ 600 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- หนองคาย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ