ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้น สูง 5-15 ม. ทิ้งใบช่วงสั้นๆ กิ่งอ่อนทอดย้อย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรี กว้าง 2.5-7 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนใบสอบเรียว ปลายใบกว้างและมีติ่งแหลม ดอกสีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ยาว 1-2.5 ซม. กลีบดอกฐานเชื่อมติดกันเป็นถ้วยคอด ส่วนปลายแยกเป็น 5-7 กลีบ เมื่อบานกลีบจะม้วนกลับออกมาด้านนอก เกสรผู้เป็นรยางค์ 10-18 อัน ผลสีดำ รูปกลมรี ยาว 1-1.5 ซม. เมื่อแห้งไม่แตก แต่จะรัดตัวเป็นร่องตามยาว
- ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ผลัดใบ บางครั้งมีหนาม ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 3-18 ซม. โคนเบี้ยวเล็กน้อย ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ไร้ก้านช่อ แต่ละกระจุกมี 1-8 ดอก มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกยาว 2-8 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายจักตื้น ๆ 5-10 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ดอกสีครีม มี 4-6 กลีบ หรือถึง 10 กลีบ รูปแถบ ปลายมน ยาว 1.2-3 ซม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 10-30 อัน ติดบนจานฐานดอก ก้านชูอับเรณูยาว 0.4-1.2 ซม. ปลายเป็นข้องอ มีขนเครา จานฐานดอกจักเป็นพู รังไข่ใต้วงกลีบ มี 1-2 ช่อง เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.8-2.4 ซม. ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลผนังชั้นในแข็ง สุกสีแดง รูปรีหรือเกือบกลม ยาว 1-2.4 ซม. มี 1-2 เมล็ด กลีบเลี้ยงและจานฐานดอกติดทน
- ไม้ยืนต้น สูง 5-15 ม. ทิ้งใบช่วงสั้นๆ กิ่งอ่อนทอดย้อย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรี กว้าง 2.5-7 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนใบสอบเรียว ปลายใบกว้างและมีติ่งแหลม ดอกสีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ยาว 1-2.5 ซม. กลีบดอกฐานเชื่อมติดกันเป็นถ้วยคอด ส่วนปลายแยกเป็น 5-7 กลีบ เมื่อบานกลีบจะม้วนกลับออกมาด้านนอก เกสรผู้เป็นรยางค์ 10-18 อัน ผลสีดำ รูปกลมรี ยาว 1-1.5 ซม. เมื่อแห้งไม่แตก แต่จะรัดตัวเป็นร่องตามยาว
- ไม้ยืนต้น สูง 5-15 ม. ทิ้งใบช่วงสั้นๆ กิ่งอ่อนทอดย้อย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรี กว้าง 2.5-7 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนใบสอบเรียว ปลายใบกว้างและมีติ่งแหลม ดอกสีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ยาว 1-2.5 ซม. กลีบดอกฐานเชื่อมติดกันเป็นถ้วยคอด ส่วนปลายแยกเป็น 5-7 กลีบ เมื่อบานกลีบจะม้วนกลับออกมาด้านนอก เกสรผู้เป็นรยางค์ 10-18 อัน ผลสีดำ รูปกลมรี ยาว 1-1.5 ซม. เมื่อแห้งไม่แตก แต่จะรัดตัวเป็นร่องตามยาว
- ไม้ยืนต้น สูง 5-15 ม. ทิ้งใบช่วงสั้นๆ กิ่งอ่อนทอดย้อย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรี กว้าง 2.5-7 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนใบสอบเรียว ปลายใบกว้างและมีติ่งแหลม ดอกสีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ยาว 1-2.5 ซม. กลีบดอกฐานเชื่อมติดกันเป็นถ้วยคอด ส่วนปลายแยกเป็น 5-7 กลีบ เมื่อบานกลีบจะม้วนกลับออกมาด้านนอก เกสรผู้เป็นรยางค์ 10-18 อัน ผลสีดำ รูปกลมรี ยาว 1-1.5 ซม. เมื่อแห้งไม่แตก แต่จะรัดตัวเป็นร่องตามยาว
การกระจายพันธุ์ :
- พบกระจายในอินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ยกเว้นทางภาคใต้ ที่ระดับความสูง 200-500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
- พบกระจายในอินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ยกเว้นทางภาคใต้ ที่ระดับความสูง 200-500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
- พบกระจายในอินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ยกเว้นทางภาคใต้ ที่ระดับความสูง 200-500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
- พบกระจายในอินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ยกเว้นทางภาคใต้ ที่ระดับความสูง 200-500 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเทา เรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด แก่นสีน้ำตาล กระพี้สีค่อนข้างเหลือง กิ่งอ่อนและใบอ่อนมีขน ใบเดี่ยวรูปไข่กลับรูปขอบขนาน หรือรูปหอกกลับ กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 5-15 เซนติเมตร มีเส้นแขนงใบ 3-5 เส้นออกจากโคนใบ เห็นชัดมากบริเวณท้องใบ ดอกช่อ สีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกมีขนขึ้นประปราย ผล รูปกลมรี ออกเป็นกระจุก กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร สุกสีดำ ปลายผลมีกลีบเลี้ยง และกลางผลจะมีสันแข็งตลอดความยาวของผล ผลรสหวานอมเปรี้ยว รับประทานได้ แห้งไม่แตก พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบเขา หรือป่าชายเลน
- ไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเทา เรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด แก่นสีน้ำตาล กระพี้สีค่อนข้างเหลือง กิ่งอ่อนและใบอ่อนมีขน ใบเดี่ยวรูปไข่กลับรูปขอบขนาน หรือรูปหอกกลับ กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 5-15 เซนติเมตร มีเส้นแขนงใบ 3-5 เส้นออกจากโคนใบ เห็นชัดมากบริเวณท้องใบ ดอกช่อ สีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกมีขนขึ้นประปราย ผล รูปกลมรี ออกเป็นกระจุก กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร สุกสีดำ ปลายผลมีกลีบเลี้ยง และกลางผลจะมีสันแข็งตลอดความยาวของผล ผลรสหวานอมเปรี้ยว รับประทานได้ แห้งไม่แตก พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบเขา หรือป่าชายเลน
- ไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเทา เรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด แก่นสีน้ำตาล กระพี้สีค่อนข้างเหลือง กิ่งอ่อนและใบอ่อนมีขน ใบเดี่ยวรูปไข่กลับรูปขอบขนาน หรือรูปหอกกลับ กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 5-15 เซนติเมตร มีเส้นแขนงใบ 3-5 เส้นออกจากโคนใบ เห็นชัดมากบริเวณท้องใบ ดอกช่อ สีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกมีขนขึ้นประปราย ผล รูปกลมรี ออกเป็นกระจุก กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร สุกสีดำ ปลายผลมีกลีบเลี้ยง และกลางผลจะมีสันแข็งตลอดความยาวของผล ผลรสหวานอมเปรี้ยว รับประทานได้ แห้งไม่แตก พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบเขา หรือป่าชายเลน
- ไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเทา เรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด แก่นสีน้ำตาล กระพี้สีค่อนข้างเหลือง กิ่งอ่อนและใบอ่อนมีขน ใบเดี่ยวรูปไข่กลับรูปขอบขนาน หรือรูปหอกกลับ กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 5-15 เซนติเมตร มีเส้นแขนงใบ 3-5 เส้นออกจากโคนใบ เห็นชัดมากบริเวณท้องใบ ดอกช่อ สีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกมีขนขึ้นประปราย ผล รูปกลมรี ออกเป็นกระจุก กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร สุกสีดำ ปลายผลมีกลีบเลี้ยง และกลางผลจะมีสันแข็งตลอดความยาวของผล ผลรสหวานอมเปรี้ยว รับประทานได้ แห้งไม่แตก พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบเขา หรือป่าชายเลน
- ไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 5-15 เมตร เปลือกสีน้ำตาลเทา เรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด แก่นสีน้ำตาล กระพี้สีค่อนข้างเหลือง กิ่งอ่อนและใบอ่อนมีขน ใบเดี่ยวรูปไข่กลับรูปขอบขนาน หรือรูปหอกกลับ กว้าง 2.5-7 เซนติเมตร ยาว 5-15 เซนติเมตร มีเส้นแขนงใบ 3-5 เส้นออกจากโคนใบ เห็นชัดมากบริเวณท้องใบ ดอกช่อ สีขาวนวล กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกมีขนขึ้นประปราย ผล รูปกลมรี ออกเป็นกระจุก กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร สุกสีดำ ปลายผลมีกลีบเลี้ยง และกลางผลจะมีสันแข็งตลอดความยาวของผล ผลรสหวานอมเปรี้ยว รับประทานได้ แห้งไม่แตก พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบเขา หรือป่าชายเลน
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
- เพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- กำแพงเพชร
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ลำปาง, ตาก
- ลพบุรี
- ชัยภูมิ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เนื้อไม้เหนียว นิยมทำพานท้ายปืนและด้ามเครื่องมือเกษตร แก่นใช้เป็นยาดอกบำรุงกำลัง เปลือกแก้หืด ผล รสฝาด ใช้ขับพยาธิ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)