ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นไม้เถา ขึ้นยึดเกาะกับต้นไม้ใหญ่ มีหัวใต้ดินเป็นก้อนใหญ่สีขาว ยอดอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบเป็นใบประกอบ ก้านหนึ่งมี 3 ใบย่อย ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ สีแสด รูปดอกถั่ว ขนาดยาว 4-7 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง กลีบดอก 5 กลีบ กลีบตั้งแผ่กว้าง กลีบข้างแคบ กลีบกระทงโค้งแหลม ยาวเป็น 4-5 เท่าของกลีบรองดอก ผลเป็นฝักแบนเห็นก้านชัดเจน
-
เป็นไม้เถา ขึ้นยึดเกาะกับต้นไม้ใหญ่ มีหัวใต้ดินเป็นก้อนใหญ่สีขาว ยอดอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบเป็นใบประกอบ ก้านหนึ่งมี 3 ใบย่อย ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ สีแสด รูปดอกถั่ว ขนาดยาว 4-7 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง กลีบดอก 5 กลีบ กลีบตั้งแผ่กว้าง กลีบข้างแคบ กลีบกระทงโค้งแหลม ยาวเป็น 4-5 เท่าของกลีบรองดอก ผลเป็นฝักแบนเห็นก้านชัดเจน
-
เป็นไม้เถา ขึ้นยึดเกาะกับต้นไม้ใหญ่ มีหัวใต้ดินเป็นก้อนใหญ่สีขาว ยอดอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบเป็นใบประกอบ ก้านหนึ่งมี 3 ใบย่อย ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ สีแสด รูปดอกถั่ว ขนาดยาว 4-7 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง กลีบดอก 5 กลีบ กลีบตั้งแผ่กว้าง กลีบข้างแคบ กลีบกระทงโค้งแหลม ยาวเป็น 4-5 เท่าของกลีบรองดอก ผลเป็นฝักแบนเห็นก้านชัดเจน
-
เป็นไม้เถา ขึ้นยึดเกาะกับต้นไม้ใหญ่ มีหัวใต้ดินเป็นก้อนใหญ่สีขาว ยอดอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบเป็นใบประกอบ ก้านหนึ่งมี 3 ใบย่อย ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดใหญ่ สีแสด รูปดอกถั่ว ขนาดยาว 4-7 ซม. กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง กลีบดอก 5 กลีบ กลีบตั้งแผ่กว้าง กลีบข้างแคบ กลีบกระทงโค้งแหลม ยาวเป็น 4-5 เท่าของกลีบรองดอก ผลเป็นฝักแบนเห็นก้านชัดเจน
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันตก เป็นไม้กลางแจ้งที่ขึ้นได้ดีตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณแล้ง ที่ระดับความสูง 100-300 เมตร
-
จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันตก เป็นไม้กลางแจ้งที่ขึ้นได้ดีตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณแล้ง ที่ระดับความสูง 100-300 เมตร
-
จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันตก เป็นไม้กลางแจ้งที่ขึ้นได้ดีตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณแล้ง ที่ระดับความสูง 100-300 เมตร
-
จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือและภาคตะวันตก เป็นไม้กลางแจ้งที่ขึ้นได้ดีตามป่าเต็งรังและป่าเบญจพรรณแล้ง ที่ระดับความสูง 100-300 เมตร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
ที่มาของข้อมูล