ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุกแผ่ปกคลุมดิน สูง ๕๐ – ๗๐ ซม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อสีขาวตรงข้ามใบที่ปลายยอด ผลสีเขียวเข้มขนาดเล็ก ออกดอกชว่ งเดือนตุลาคม – ธันวาคม ขยายพันธุ์ โดยการปักชำกิ่ง
-
ไม้ล้มลุกแผ่ปกคลุมดิน สูง ๕๐ – ๗๐ ซม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ สีเขียวเข้มเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อสีขาวตรงข้ามใบที่ปลายยอด ผลสีเขียวเข้มขนาดเล็ก ออกดอกชว่ งเดือนตุลาคม – ธันวาคม ขยายพันธุ์ โดยการปักชำกิ่ง
-
ออกดอกเดือนเมษายน - พฤศจิกายน
การกระจายพันธุ์ :
-
-
-
-
-
จีน อินเดีย ภูมิภาคอินโดจีน มาเลเซีย พบใน ทุกภาคของประเทศไทย ในป่าหรือบริเวณที่ชุ่มชื้น
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นนทบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เลื้อย ลำต้นตั้ง มีไหลทอดเลื้อยตามพื้นดิน เมื่อยังอ่อนอยู่ทุกส่วนมีขนสั้นนุ่ม ใบ เดี่ยว เรียงเวียน รูปหัวใจ กว้าง 5-10 เซนติเมตร ยาว 7-15 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนรูปหัวใจ ก้านใบยาว 2-5 เซนติเมตรดอก แบบคล้ายช่อเชิงลด ออกที่ซอกใบ ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้นดอกย่อย สีขาว อัดแน่นอยู่บนแกนช่อดอก ไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ช่อดอกเพศผู้ยาว 1.3- 2 เซนติเมตร สีขาว ดอกเพศผู้ เกสรเพศผู้ 3 อัน ช่อดอกเพศเมียยาว 5- 13 มิลลิเมตร ดอกเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ ค่อนข้างกลม ยอดเกสรเพศเมีย 3 แฉก ผล แบบผลผนังชั้นในแข็งทรงกลม แข็ง เรียงอัดกันแน่นบนแกนกลาง มี 1 เมล็ด
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ต้มกิน , แกงกิน ช่วยเจริญอาหาร, ชับลม, แก้ท้องอืด, ท้องเฟ้อ
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
-
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำบลแม่กิ๊ก อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช