ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 5 เมตร ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 5.5-7 ซม. ยาว 17-20 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ผิวเกลี้ยงหรือมีขนห่าง เส้นใบข้าง 8-10 คู่ จรดกันที่ขอบใบ ช่อดอกเรียวยาว กาบรองดอกแคบแหลม กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลม ค่อนข้างเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ดอกเพศผู้ มีเกสร 3-4 อัน รังไข่เป็นหมัน ดอกเพศเมีย มียอดเกสร 3-4 แฉก รังไข่ เกลี้ยง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. มีรอยบุ๋มลึก
-
ไม้พุ่ม สูง 5 เมตร ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 5.5-7 ซม. ยาว 17-20 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ผิวเกลี้ยงหรือมีขนห่าง เส้นใบข้าง 8-10 คู่ จรดกันที่ขอบใบ ช่อดอกเรียวยาว กาบรองดอกแคบแหลม กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลม ค่อนข้างเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ดอกเพศผู้ มีเกสร 3-4 อัน รังไข่เป็นหมัน ดอกเพศเมีย มียอดเกสร 3-4 แฉก รังไข่ เกลี้ยง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. มีรอยบุ๋มลึก
-
ไม้พุ่ม สูง 5 เมตร ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 5.5-7 ซม. ยาว 17-20 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ผิวเกลี้ยงหรือมีขนห่าง เส้นใบข้าง 8-10 คู่ จรดกันที่ขอบใบ ช่อดอกเรียวยาว กาบรองดอกแคบแหลม กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลม ค่อนข้างเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ดอกเพศผู้ มีเกสร 3-4 อัน รังไข่เป็นหมัน ดอกเพศเมีย มียอดเกสร 3-4 แฉก รังไข่ เกลี้ยง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. มีรอยบุ๋มลึก
-
ไม้พุ่ม สูง 5 เมตร ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 5.5-7 ซม. ยาว 17-20 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ผิวเกลี้ยงหรือมีขนห่าง เส้นใบข้าง 8-10 คู่ จรดกันที่ขอบใบ ช่อดอกเรียวยาว กาบรองดอกแคบแหลม กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลม ค่อนข้างเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ดอกเพศผู้ มีเกสร 3-4 อัน รังไข่เป็นหมัน ดอกเพศเมีย มียอดเกสร 3-4 แฉก รังไข่ เกลี้ยง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. มีรอยบุ๋มลึก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณป่าดิบหรือริมลำธาร ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 500-600 เมตร ออกดอก เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ติดผลเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
-
พบบริเวณป่าดิบหรือริมลำธาร ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 500-600 เมตร ออกดอก เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ติดผลเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
-
พบบริเวณป่าดิบหรือริมลำธาร ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 500-600 เมตร ออกดอก เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ติดผลเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
-
พบบริเวณป่าดิบหรือริมลำธาร ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 500-600 เมตร ออกดอก เดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ติดผลเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
สุราษฎร์ธานี
-
สงขลา
-
สงขลา
-
สงขลา
-
ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงราย
-
นครศรีธรรมราช
-
พัทลุง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ชัยภูมิ
-
สงขลา
-
สงขลา
-
นครศรีธรรมราช
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กระบี่, ตรัง
-
กระบี่, ตรัง
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
พะเยา, น่าน
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
พังงา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เชียงใหม่
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ลำปาง
-
ชุมพร, สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่ากราด
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองทุ่งทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม สูง 5 เมตร ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 5.5-7 ซม. ยาว 17-20 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ผิวเกลี้ยงหรือมีขนห่าง เส้นใบข้าง 8-10 คู่ จรดกันที่ขอบใบ ช่อดอกเรียวยาว กาบรองดอกแคบแหลม กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลม ค่อนข้างเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ดอกเพศผู้ มีเกสร 3-4 อัน รังไข่เป็นหมัน ดอกเพศเมีย มียอดเกสร 3-4 แฉก รังไข่ เกลี้ยง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. มีรอยบุ๋มลึก
-
ไม้พุ่ม สูง 5 เมตร ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน กว้าง 5.5-7 ซม. ยาว 17-20 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ผิวเกลี้ยงหรือมีขนห่าง เส้นใบข้าง 8-10 คู่ จรดกันที่ขอบใบ ช่อดอกเรียวยาว กาบรองดอกแคบแหลม กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลม ค่อนข้างเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ดอกเพศผู้ มีเกสร 3-4 อัน รังไข่เป็นหมัน ดอกเพศเมีย มียอดเกสร 3-4 แฉก รังไข่ เกลี้ยง ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. มีรอยบุ๋มลึก
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การเสียบยอด
2. การตอนกิ่ง
3. การเสียบยอด
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การเสียบยอด
2. การตอนกิ่ง
3. การเสียบยอด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ผลรับประทานได้ ใบใช้พอกแผล
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช