ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Found in dry area as in deciduous forest and dry evergreen forest, to 1,250 m. alt.
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น
การกระจายพันธุ์ :
-
India, Myanmar, China, Laos, Vietnam, Malaysia.
-
นิเวศวิทยา พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นในที่แห้งแล้ง เช่นในป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ออกดอกเดือน มีนาคม – ธันวาคม ต่างประเทศพบในประเทศอินเดีย พม่า จีน ลาว เวียตนาม และมาเลเซีย
-
พบทั่วไปในป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง
-
นิเวศวิทยา พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นในที่แห้งแล้ง เช่นในป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ออกดอกเดือน มีนาคม – ธันวาคม ต่างประเทศพบในประเทศอินเดีย พม่า จีน ลาว เวียตนาม และมาเลเซีย
-
นิเวศวิทยา พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นในที่แห้งแล้ง เช่นในป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ออกดอกเดือน มีนาคม – ธันวาคม ต่างประเทศพบในประเทศอินเดีย พม่า จีน ลาว เวียตนาม และมาเลเซีย
-
นิเวศวิทยา พบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นในที่แห้งแล้ง เช่นในป่าผลัดใบ ป่าดิบแล้ง ออกดอกเดือน มีนาคม – ธันวาคม ต่างประเทศพบในประเทศอินเดีย พม่า จีน ลาว เวียตนาม และมาเลเซีย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,KamphaengPhet,Lampang,Lamphun,MaeHongSon,NakhonSawan,Phitsanulok,Tak,Loei,NongKhai,BuriRam,Chaiyaphum,NakhonRatchasima,Chanthaburi,NakhonNayok,Saraburi,UthaiThani,Kanchanaburi,PrachuapKhiriKhan,Phetchaburi,Ratchaburi,SuratThani
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
อุบลราชธานี
-
สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
พืชล้มลุก
-
ไม้ล้มลุก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก สูง 30-50 ซม. เหง้าสั้น มี 3-5 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปหอก ยาวได้ถึง 40 ซม. เกลี้ยง ก้านใบยาวถึง 10 ซม. ช่อดอกออกที่ยอด ก้านช่อดอกยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อดอกยาว 4-8 ซม. ใบประดับสีเขียวช่วงปลายสีขาว รูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 3 ซม. ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบดอกรูปไข่ยาวประมาณ 7 มม. แผ่นเกสรเพศผู้เป็นกมันรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน สั้นกว่ากลีบปาก กลีบปากรูปขอบขนาน ปลายมีปื้นสีม่วงอมน้ำเงิน ขอบจักชายครุยปลายแฉกลึก 2 แฉก อับเรณูไม่มีเดือย รังไข่เกลี้ยง
-
หัวมีรูปไข่ ขนาด 2 X1 ซม. ภายในมีสีน้ำตาลอ่อน เหง้าสั้นมาก ลำต้นเหนือดินสูง 15-50 ซม. แผ่นใบมีรูปรี ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ฐานใบรูปลิ่มหรือมน ปลายใบเรียวแหลม มีขนาด 7-40 X 2.5-14 ซม. ช่อดอกออกกลางลำต้น ก้านช่อยาว 7-30 ซม. ส่วนช่อดอกยาว 3.5-8 ซม. ใบประดับสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีขาว กลีบดอกมีสีขาว สเตมิโนด รูปไข่กลับ มีสีขาวล้วนหรือมีแต้มสีม่วงหรือน้ำเงินที่ส่วนปลายขอบหยักเป็นคลื่น กลีบปาก รูปไข่กลับ มีสีขาว ส่วนปลายแต้มสีน้ำเงินขอบหยักเป็นชายครุย ปลายแยก 2 แฉก อับเรณูไม่มีเดือย รังไข่ค่อนข้างกลม ยาวประมาณ 2 มม. สีขาว ผิวเกลี้ยง
-
บรรยายลักษณะต้น:ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน มีกาบใบหุ้มซ้อนกันคล้ายเป็นลำต้น สูง 30-40 เซนติเมตร โคนต้นสีแดงใบ:ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน สีเขียว ปลายใบแหลม โคนมน ผิวใบเรียบดอก:ดอกออกเป็นช่อ ออกจากเหง้าเหนือพื้นดิน กลีบดอกสีขาว อับเรณูสีเหลืองอ่อนผล:เปลือก:อื่นๆ:
ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน มีกาบใบหุ้มซ้อนกันคล้ายเป็นลำต้น สูง 30-40 เซนติเมตร โคนต้นสีแดง
ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน สีเขียว ปลายใบแหลม โคนมน ผิวใบเรียบ
ดอกออกเป็นช่อ ออกจากเหง้าเหนือพื้นดิน กลีบดอกสีขาว อับเรณูสีเหลืองอ่อน
ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน มีกาบใบหุ้มซ้อนกันคล้ายเป็นลำต้น สูง 30-40 เซนติเมตร โคนต้นสีแดง
ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน สีเขียว ปลายใบแหลม โคนมน ผิวใบเรียบ
ดอกออกเป็นช่อ ออกจากเหง้าเหนือพื้นดิน กลีบดอกสีขาว อับเรณูสีเหลืองอ่อน
-
ไม้ล้มลุก สูง 30–50 ซม. เหง้าสั้น มี 3–5 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาวได้ถึง 40 ซม. เกลี้ยง ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ช่อดอกออกที่ยอด ก้านช่อยาวได้ถึง 30 ซม. ช่อดอกยาว 4–8 ซม. ใบประดับสีเขียวช่วงปลายสีขาว รูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 3 ซม. ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบดอกรูปไข่ ยาวประมาณ 7 มม. แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน สั้นกว่ากลีบปาก กลีบปากรูปขอบขนาน ปลายมีปื้นสีม่วงอมน้ำเงิน ขอบจักชายครุย ปลายแฉกลึก 2 แฉก อับเรณูไม่มีเดือย รังไข่เกลี้ยง
-
ไม้ล้มลุก
-
หัวมีรูปไข่ ขนาด 2 X1 ซม. ภายในมีสีน้ำตาลอ่อน เหง้าสั้นมาก ลำต้นเหนือดินสูง 15-50 ซม. แผ่นใบมีรูปรี ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ฐานใบรูปลิ่มหรือมน ปลายใบเรียวแหลม มีขนาด 7-40 X 2.5-14 ซม. ช่อดอกออกกลางลำต้น ก้านช่อยาว 7-30 ซม. ส่วนช่อดอกยาว 3.5-8 ซม. ใบประดับสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีขาว กลีบดอกมีสีขาว สเตมิโนด รูปไข่กลับ มีสีขาวล้วนหรือมีแต้มสีม่วงหรือน้ำเงินที่ส่วนปลายขอบหยักเป็นคลื่น กลีบปาก รูปไข่กลับ มีสีขาว ส่วนปลายแต้มสีน้ำเงินขอบหยักเป็นชายครุย ปลายแยก 2 แฉก อับเรณูไม่มีเดือย รังไข่ค่อนข้างกลม ยาวประมาณ 2 มม. สีขาว ผิวเกลี้ยง
-
หัวมีรูปไข่ ขนาด 2 X1 ซม. ภายในมีสีน้ำตาลอ่อน เหง้าสั้นมาก ลำต้นเหนือดินสูง 15-50 ซม. แผ่นใบมีรูปรี ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ฐานใบรูปลิ่มหรือมน ปลายใบเรียวแหลม มีขนาด 7-40 X 2.5-14 ซม. ช่อดอกออกกลางลำต้น ก้านช่อยาว 7-30 ซม. ส่วนช่อดอกยาว 3.5-8 ซม. ใบประดับสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีขาว กลีบดอกมีสีขาว สเตมิโนด รูปไข่กลับ มีสีขาวล้วนหรือมีแต้มสีม่วงหรือน้ำเงินที่ส่วนปลายขอบหยักเป็นคลื่น กลีบปาก รูปไข่กลับ มีสีขาว ส่วนปลายแต้มสีน้ำเงินขอบหยักเป็นชายครุย ปลายแยก 2 แฉก อับเรณูไม่มีเดือย รังไข่ค่อนข้างกลม ยาวประมาณ 2 มม. สีขาว ผิวเกลี้ยง
-
หัวมีรูปไข่ ขนาด 2 X1 ซม. ภายในมีสีน้ำตาลอ่อน เหง้าสั้นมาก ลำต้นเหนือดินสูง 15-50 ซม. แผ่นใบมีรูปรี ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ด้าน ฐานใบรูปลิ่มหรือมน ปลายใบเรียวแหลม มีขนาด 7-40 X 2.5-14 ซม. ช่อดอกออกกลางลำต้น ก้านช่อยาว 7-30 ซม. ส่วนช่อดอกยาว 3.5-8 ซม. ใบประดับสีเขียว ใบประดับส่วนยอด สีขาว กลีบดอกมีสีขาว สเตมิโนด รูปไข่กลับ มีสีขาวล้วนหรือมีแต้มสีม่วงหรือน้ำเงินที่ส่วนปลายขอบหยักเป็นคลื่น กลีบปาก รูปไข่กลับ มีสีขาว ส่วนปลายแต้มสีน้ำเงินขอบหยักเป็นชายครุย ปลายแยก 2 แฉก อับเรณูไม่มีเดือย รังไข่ค่อนข้างกลม ยาวประมาณ 2 มม. สีขาว ผิวเกลี้ยง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาหลวง ป่าสงวนแห่งชาติป่าสาลีก ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง ป่าคำหัวแฮด ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงมะอี่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ผาแต้ม
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ
ที่มาของข้อมูล
-
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช