ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นชะมดขนาดใหญ่ คอค่อนข้างยาว ที่คอมีแถบขนสีขาวสลับดำคล้ายเป็นสายสร้อย ขนลำตัวมีสีเทาเข้ม น้ำตาล และสีเนื้อ บริเวณสีข้างต้นขา และขาหลังมีลายเป็นแถบต่อเนื่องกันสีเทา แต่ไม่เป็นจุดเหมือนในชะมดแผงสันหางดำ ด้านหลังคอมีแผงขนที่ตั้งขึ้นเป็นแถบสีดำวิ่งผ่านกลางหลังมายังโคนหาง หางมีลักษณะเป็นปล้องสีดำสลับขาว มีปล้องสีดำประมาณ 5 – 6 ปล้อง ขนที่ขาหน้าสีน้ำตาลเข้มกว่าขนที่ขาหลัง นอกจากนี้นิ้วที่ 3 และ 4 ของขาหน้าจะมีหนังหุ้มเล็บ
ชะมดแผงสันหางปล้อง มีต่อมกลิ่นใกล้ทวารสร้างสารที่เรียกว่าน้ำมันชะมด ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันในกลุ่ม
ชะมดแผงสันหางปล้อง มีต่อมกลิ่นใกล้ทวารสร้างสารที่เรียกว่าน้ำมันชะมด ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันในกลุ่ม
-
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าธรรมชาติทั้งบนที่ราบ และภูเขา หรือป่าเสื่อมโทรม รวมทั้งสวนยาง
การแพร่กระจาย ได้แก่ เนปาล สิกขิม ภูฐาน อัสสัม จีนใต้ พม่า ไทย อินโดจีน ไหหลำ สิงคโปร์ ถูกนำไปเลี้ยงในเกาะใน Andamon
การแพร่กระจาย ได้แก่ เนปาล สิกขิม ภูฐาน อัสสัม จีนใต้ พม่า ไทย อินโดจีน ไหหลำ สิงคโปร์ ถูกนำไปเลี้ยงในเกาะใน Andamon
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณเกาะเกร็ด และพื้นที่อื่นๆ เลียบแม่น้ำเจ้าพระยา
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์นครราชสีมา,สวนสัตว์สงขลา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ปลายจมูกถึงโคนหาง 75-85 เซนติเมตร เป็นชะมดขนาดใหญ่ หางปล้องสลับสีขาวดำ ปล้องสีขาวเชื่อมกันเป็นวงสมบูรณ์ อกและข้างคอมีแถบสีดำ-ขาว คอยาว มีขนเป็นสัน สีดำพาดยาวจากท้ายทอย ผ่านคอไปสิ้นสุดที่โคนหาง ลำตัว ต้นขา และขาหลังมีลายแถบสีขาวดำปะปนกันไป ไม่เป็นจุด
ระบบนิเวศ :
-
evergreen forest
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศเกษตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ทั่วประเทศ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ทั่วประเทศ
-
นนทบุรี
-
พะเยา
-
น่าน
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข III (ประกาศใช้เมื่อ 1989-03-16)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข III
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |