ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- มีขนาดประมาณ 13-13.5 เซนติเมตร ปากดำ หัวและลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมเทา หางดำ โคนหางคู่นอกๆ ขาว ลำตัวด้านล่างขาวแกมเทา
- นกขนาดเล็กมาก (13 ซม.) ในช่วงฤดูผสมพันธุ์คอหอยสีส้ม-น้ำตาลแดง ตัดกับสีของอก และด้านข้างของหัวที่เป็นสีเทา
ตัวผู้ช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ และตัวเมียคอหอยสีขาว ตัดกับสีของอก และด้านข้า างของหัวสีออกน้ำตาล-เทา ทุกฤดูกาลและทุกเพศจะเห็นขนทางคู่นอกมีลายแถบสีขาว
- นกเพศผู้ ปากดำ หัวและลำตัวด้านบนสีน้ำตาลแกมเทา หางสีดำ โคนหางคู่นอกๆ ขาว ลำตัวด้านล่างสีขาวแกมเทา
ฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้ใต้คอสีส้มเข้ม อกและท้องเทาเข้มขึ้น พฤติกรรมชอบกระดกหาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน , ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบนิเวศ :
- พบตามป่าโปรง ชายป่า สวนผลไม้ และป่าละเมาะ อาศัยและหากินตามกิ่งก้านของพ่มไม้ หรือต้นไม้ระดับต่ำโดยการโฉบจับแมลงกลางอากาศระหว่างกิ่งไม้หนึ่งไปยังอีกกิ่งไม้หนึ่ง ขณะเกาะมักจะสั่นหางขึ้นลงและแผ่หางออก
- ป่าโปร่ง สวนผลไม้ สวนสาธารณะ
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เชียงใหม่
- พังงา
- เชียงใหม่
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- กำแพงเพชร
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข III (ประกาศใช้เมื่อ 2022-06-30)

- บัญชีหมายเลข III (ประกาศใช้เมื่อ 2021-06-22)

CITES ไทย

พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nakhon ratchasima
NSM Mae hong son
NSM Mae hong son
NSM Nakhon ratchasima
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Loei
NSM Nan
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Tak
NSM Nan
NSM Nan
NSM Chiang mai
NSM Kanchanaburi
NSM Kanchanaburi
NSM Chiang mai
NSM Pathum thani
NSM Tak
NSM Phrae
NSM Nan
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Pathum thani
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
NSM Ubon ratchathani
NSM Chaiyaphum
NSM Chon buri
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Chiang rai
NSM Ubon ratchathani
NSM Ubon ratchathani
NSM Mae hong son
NSM Uthai thani
NSM Chiang mai
NSM Chiang mai
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ