ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 17-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมกลมแกมรี ขนาด 3 มม. ใบรูปไข่กลับถึงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 1.2-3.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด ยาวถึง 40 ซม. ดอกย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 6-7 ซม. ผลสีน้ำตาลแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โคนและปลายสอบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 14-17 ซม. เมื่อแก่แตกด้านข้าง เมล็ดรูปไข่กลับแกมรี ขนาด 4.5-7.5 มม.
- ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 17-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมกลมแกมรี ขนาด 3 มม. ใบรูปไข่กลับถึงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 1.2-3.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด ยาวถึง 40 ซม. ดอกย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 6-7 ซม. ผลสีน้ำตาลแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โคนและปลายสอบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 14-17 ซม. เมื่อแก่แตกด้านข้าง เมล็ดรูปไข่กลับแกมรี ขนาด 4.5-7.5 มม.
- ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 17-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมกลมแกมรี ขนาด 3 มม. ใบรูปไข่กลับถึงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 1.2-3.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด ยาวถึง 40 ซม. ดอกย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 6-7 ซม. ผลสีน้ำตาลแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โคนและปลายสอบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 14-17 ซม. เมื่อแก่แตกด้านข้าง เมล็ดรูปไข่กลับแกมรี ขนาด 4.5-7.5 มม.
- ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก แกนช่อใบยาว 17-25 ซม. บริเวณโคนมีต่อมกลมแกมรี ขนาด 3 มม. ใบรูปไข่กลับถึงรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 1.2-3.5 ซม. ยาว 2.5-6 ซม. ดอกสีขาว ออกเป็นช่อใหญ่ที่ปลายยอด ยาวถึง 40 ซม. ดอกย่อยรวมกันเป็นกลุ่ม กลีบดอกเชื่อมกันเป็นรูปกรวย ปลายแยก 5 แฉก เกสรผู้จำนวนมาก ยาว 6-7 ซม. ผลสีน้ำตาลแดง เป็นฝักแบน รูปขอบขนาน โคนและปลายสอบ กว้าง 2.5 ซม. ยาว 14-17 ซม. เมื่อแก่แตกด้านข้าง เมล็ดรูปไข่กลับแกมรี ขนาด 4.5-7.5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงถึง 450 ม. ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
- พบบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงถึง 450 ม. ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
- พบบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงถึง 450 ม. ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
- พบบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงถึง 450 ม. ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ปลูกประดับ, ไม้ประดับ จัดแจกัน และจัดสวน, ปลูกประดับและรับประทานได้