ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่
- เลย
- เชียงใหม่
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- อุตรดิตถ์, ลำปาง, ลำพูน, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่จางใต้ฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กมาก (15 ซม.) ปากอ้วนสั้นเป็นปากกรวย หัวค่อนข้างใหญ่ คอสั้น ปีกสั้นและปลายปีกแหลม หางสั้น ปลายหางเว้าตื้น ขาสั้น กระหม่อมสีน้ำตาลดำ บริเวณแก้มสีขาว มีลายแถบสีดำบริเวณหู และคอด้านล่าง มีลายพาดสีขาว 2 ลายที่ปีกและโคนปีก
ระบบนิเวศ :
- พบหากินตามหมู่บ้าน อาหาร คือ เมล็ดข้าวเปลือก ธัญพืช เมล็ดหญ้า แมลง และตัวหนอน โดยมากมักหากินด้วยการกระโดดตามพื้นดิน หรือบริเวณสนามหญ้า
- ระบบนิเวศป่าไม้, พื้นที่การทำเกษตร
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์เกือบตลอดทั้งปี ทำรังตามชายคาบ้าน โดยใข้ใบไม้ ใบหญ้าแห้งเป็นวัสดุ รังเป็นรูปกระโจม หรือทรงกลม ไข่มีสีพื้นเป็นสีขาว-น้ำตาลอ่อนเป็นมัน ไม่มีลายใดๆ ในแต่ละรังมีไข่ 4-6 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 11-12 วัน
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Skin
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ