ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ลำต้นเกือบเกลี้ยง ใบ เดี่ยว เรียงเวียน สลับ รูปแผ่เกือบกลม ขนาด 6-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเว้า รูปหัวใจ ขอบใบหยักตื้น ผิวใบด้านล่างมีขน บริเวณโคนเส้นกลาง ใบมีต่อม ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ยาว 6-12 ซม. ใบประดับเป็นกาบรูปไข่ ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 10 ซม. มีริ้วประดับ ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขน กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียน ซ้อนกัน ส่วนโคนเชื่อมกัน ใจกลางดอกมีแต้มสีม่วงเข้ม เกสรผู้ จำนวนมาก เชื่อมกันเป็นหลอด ก้านเกสรเมียปลายแยก 5 แฉก ผล รูปกระสวย กว้าง 2 ซม.ยาวถึง 3 ซม. ผลแก่แตกตามสันยาว เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
- ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ลำต้นเกือบเกลี้ยง ใบ เดี่ยว เรียงเวียน สลับ รูปแผ่เกือบกลม ขนาด 6-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเว้า รูปหัวใจ ขอบใบหยักตื้น ผิวใบด้านล่างมีขน บริเวณโคนเส้นกลาง ใบมีต่อม ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ยาว 6-12 ซม. ใบประดับเป็นกาบรูปไข่ ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 10 ซม. มีริ้วประดับ ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขน กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียน ซ้อนกัน ส่วนโคนเชื่อมกัน ใจกลางดอกมีแต้มสีม่วงเข้ม เกสรผู้ จำนวนมาก เชื่อมกันเป็นหลอด ก้านเกสรเมียปลายแยก 5 แฉก ผล รูปกระสวย กว้าง 2 ซม.ยาวถึง 3 ซม. ผลแก่แตกตามสันยาว เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
การกระจายพันธุ์ :
- ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบในป่าผลัดใบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือและภาคกลาง ที่ระดับความสูงได้ถึง 500 เมตร ออกดอก ช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
- ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบในป่าผลัดใบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือและภาคกลาง ที่ระดับความสูงได้ถึง 500 เมตร ออกดอก ช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เลย, เพชรบูรณ์
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nakhon Ratchasima
NSM Nakhon Ratchasima
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ