ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ต้น : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง
ใบ : ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห ก้านใบยาว 3–5 มม.
ดอก : ช่อดอกยาว 10–20 ซม. เกลี้ยง ก้านดอกเทียมยาว 0.6–1.2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงมีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่ม มี 12 สัน ไม่ชัดเจน ยาว 5–6 มม. มีติ่งขนาดเล็กระหว่างกลีบเลี้ยง กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีม่วง กลีบดอกรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1–1.5 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้วงนอกมี 6–7 อัน รังไข่เกลี้ยง
ผล : ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.2–1.7 ซม. เกลี้ยง หรือมีขนช่วงปลายผล
- ต้น : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง
ใบ : ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห ก้านใบยาว 3–5 มม.
ดอก : ช่อดอกยาว 10–20 ซม. เกลี้ยง ก้านดอกเทียมยาว 0.6–1.2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงมีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่ม มี 12 สัน ไม่ชัดเจน ยาว 5–6 มม. มีติ่งขนาดเล็กระหว่างกลีบเลี้ยง กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีม่วง กลีบดอกรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1–1.5 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้วงนอกมี 6–7 อัน รังไข่เกลี้ยง
ผล : ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.2–1.7 ซม. เกลี้ยง หรือมีขนช่วงปลายผล
- ต้น : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง
ใบ : ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห ก้านใบยาว 3–5 มม.
ดอก : ช่อดอกยาว 10–20 ซม. เกลี้ยง ก้านดอกเทียมยาว 0.6–1.2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงมีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่ม มี 12 สัน ไม่ชัดเจน ยาว 5–6 มม. มีติ่งขนาดเล็กระหว่างกลีบเลี้ยง กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีม่วง กลีบดอกรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1–1.5 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้วงนอกมี 6–7 อัน รังไข่เกลี้ยง
ผล : ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.2–1.7 ซม. เกลี้ยง หรือมีขนช่วงปลายผล
- ต้น : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง
ใบ : ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห ก้านใบยาว 3–5 มม.
ดอก : ช่อดอกยาว 10–20 ซม. เกลี้ยง ก้านดอกเทียมยาว 0.6–1.2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงมีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่ม มี 12 สัน ไม่ชัดเจน ยาว 5–6 มม. มีติ่งขนาดเล็กระหว่างกลีบเลี้ยง กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีม่วง กลีบดอกรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1–1.5 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้วงนอกมี 6–7 อัน รังไข่เกลี้ยง
ผล : ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.2–1.7 ซม. เกลี้ยง หรือมีขนช่วงปลายผล
- ต้น : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง
ใบ : ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห ก้านใบยาว 3–5 มม.
ดอก : ช่อดอกยาว 10–20 ซม. เกลี้ยง ก้านดอกเทียมยาว 0.6–1.2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงมีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่ม มี 12 สัน ไม่ชัดเจน ยาว 5–6 มม. มีติ่งขนาดเล็กระหว่างกลีบเลี้ยง กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีม่วง กลีบดอกรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1–1.5 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้วงนอกมี 6–7 อัน รังไข่เกลี้ยง
ผล : ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.2–1.7 ซม. เกลี้ยง หรือมีขนช่วงปลายผล
- ไม้ต้น
การขยายพันธุ์ :
- ใช้เมล็ด, ตอนกิ่ง
- ใช้เมล็ด, ตอนกิ่ง
- ใช้เมล็ด, ตอนกิ่ง
- ใช้เมล็ด, ตอนกิ่ง
- ใช้เมล็ด, ตอนกิ่ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8-15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห ก้านใบยาว 3-5 มม. ช่อดอกยาว 10-20 ซม. เกลี้ยง ก้านดอกเทียมยาว 0.6-1.2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงมีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่ม มี 12 สัน ไม่ชัดเจน ยาว 5-6 มม. มีติ่งขนาดเล็กระหว่างกลีบเลี้ยง กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีม่วง กลีบดอกรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1-1.5 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้วงนอกมี 6-7 อัน รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.2-1.7 ซม. เกลี้ยง หรือมีขนช่วงปลายผล
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูงถึง 35 เมตรใบ:ใบเดี่ยว ติดเรียงแบบตรงกันข้าม รูปวงรีแกมขอบขนานหรือรูปวงรีกว้าง กว้าง 5–8 เซนติเมตร ยาว 8 – 15 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ เนื้อเหนียว อาจมีขนนุ่มคลุมผิวใบ กิ่งที่ยังมีใบติดมักมีหน้าตัดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสใบเดี่ยวดอก:ดอกช่อกระจะเชิงลด ออกที่ซอกใบ ห้อยลง ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยงสีเหลืองแกมน้ำตาลผล:ผลแห้งสีน้ำตาล แข็ง มีปีกหนา 2 ปีก ไม่แตก มีเมล็ดเดียวเปลือก:เปลือกล่อนเป็นแผ่นคล้ายเปลือกตะแบกเลือดแต่เปลือกจะบางกว่าอื่นๆ:

ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูงถึง 35 เมตร
ใบเดี่ยว ติดเรียงแบบตรงกันข้าม รูปวงรีแกมขอบขนานหรือรูปวงรีกว้าง กว้าง 5–8 เซนติเมตร ยาว 8 – 15 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ เนื้อเหนียว อาจมีขนนุ่มคลุมผิวใบ กิ่งที่ยังมีใบติดมักมีหน้าตัดเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสใบเดี่ยว
ดอกช่อกระจะเชิงลด ออกที่ซอกใบ ห้อยลง ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยงสีเหลืองแกมน้ำตาล
ผลแห้งสีน้ำตาล แข็ง มีปีกหนา 2 ปีก ไม่แตก มีเมล็ดเดียว
เปลือกล่อนเป็นแผ่นคล้ายเปลือกตะแบกเลือดแต่เปลือกจะบางกว่า
- ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกบาง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห ก้านใบยาว 3–5 มม. ช่อดอกยาว 10–20 ซม. เกลี้ยง ก้านดอกเทียมยาว 0.6–1.2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงมีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่ม มี 12 สัน ไม่ชัดเจน ยาว 5–6 มม. มีติ่งขนาดเล็กระหว่างกลีบเลี้ยง กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ด้านในปลายกลีบมีขน ดอกสีม่วง กลีบดอกรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 1–1.5 ซม. ก้านกลีบยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้วงนอกมี 6–7 อัน รังไข่เกลี้ยง ผลรูปรีกว้าง ยาว 1.2–1.7 ซม. เกลี้ยง หรือมีขนช่วงปลายผล
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามป่าดิบแล้งและป่าเต็งรังที่เป็นหินทราย ความสูง 100-400 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามป่าเบญจพรรณ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าชุมชนเขาวง ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ลำปาง
- สระบุรี
- นครราชสีมา
- เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
- ลำปาง
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เลย
- อุบลราชธานี
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- เลย
- เลย
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ลำพูน, ลำปาง
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ราชบุรี
- กาญจนบุรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เนื้อไม้ใช้ทำกระดานและพื้นบ้าน