ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ผลัดใบ ลำต้น: สูงตั้งแต่ 20 ม. ขึ้นไป ลำต้นเปลาตรง โคนเป็นพูพอนต่ำ ๆ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกต้น: เปลือกสีเทา เรียบหรือแตกเป็นร่องตื้นตามความยาวลำต้น เปลือกในสีเขียวอ่อน ใบ: เป็นใบเดี่ยว เรียบตรงข้าม ปลายแหลม โคนมน ยาว 25-40 ซม. กว้าง 20-30 ซม. ใบต้นอ่อนจะใหญ่กว่านี้มาก ด้านล่างสีเขียวเข้ม ด้านบนสีอ่อนกว่า ผิวใบมีขนสากมือ มีต่อมเล็ก ๆ สีแดง ขยี้ใบจะมีสีแดงเหมือนเลือด ดอก: ขนาดเล็ก สีขาวนวล ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล: แห้งค่อนข้างกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. เปลือกแข็ง เมล็ด มี 1-3 เมล็ด
- ไม้ต้นขนาดใหญ่ ลำต้นตั้งตรงสูงได้ถึง 30 เมตร ผลัดใบในฤดูร้อน เปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องตื่นเล็ก ๆ สีเทา โคนต้นมักเป็นพูต่ำ ๆ ใบ เป็นใบเดียว ต้นเล็กจะมีใบใหญ่มาก โคนใบมน ปลายใบแหลม ยาวประมาณ 25-30 ซม. กว้างเกือบเทาความยาวเนื้อใบสากคาย สีเขียวเข้ม ด้านหลังใบสีอ่อนกว่า ถ้าขยี้ใบสดจะมีสีแดงช้ำ และเปลี่ยนเป็นสีเขียวคล้ำ ดอก เป็นช่อใหญ่หลวม ๆ ตามปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็กสีขาวนวล ร่วงง่ายเกสรผู้ 5 อัน ผล แห้ง เป็นกระเปาะค่อนข้างกลม วัดเส้นผ่านศูนย์ประมาณ 2 ซม.เปลือกแข็งภายในโปร่งมีเมล็ด 1-3 เมล็ด
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นขนาดใหญ่ ความสูง 20-30 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลม ลำต้นเปลาตรง โคนต้นมักเป็นรากพอนต่ำๆ ค่อนข้างต่ำ ใบ:ใบเดี่ยว เรียงตัวแบบตรงข้ามสลับตั้งฉาก กว้าง 15-20 เซนติเมตร ยาว 25-30 เซนติเมตร ใบรูปไข่แกมรูปรี รูปไข่กลับ ฐานใบมน ปลายใบแหลมหรือมน เนื้อใบสีเขียวเข้ม ใบสากคาย ด้านท้องใบสีอ่อนกว่าและมีต่อมเล็กๆสีแดง ถ้าขยี้ใบสดโดยเฉพาะใบอ่อนจะมีสีแดงเหมือนเลือด และเปลี่ยนเป็นสีคล้ำเมื่อถูกอากาศ ผลัดใบเดือนธันวาคมถึงมีนาคม ดอก:ดอกเป็นช่อแบบกระจุกซ้อนประกอบ (compound dichasium) เป็นช่อขนาดใหญ่ออกที่ปลายกิ่งหลังจากแตกใบใหม่ ดอกแต่ละดอกมีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ โคนกลีบติดกัน ปลายแยกเป็น 6 แฉก สีน้ำตาลอมเขียว กลีบดอก 6 กลีบ สีขาวนวลหรือสีเหลืองอ่อน เกสรเพศผู้ 5 อัน อาจเป็นหมัน 1 อัน โคนของเกสรเพศผู้ติดอยู่กับหลอดกลีบดอก (corolla tube) ด้านใน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบดอก รังไข่มี 2 ช่อง แต่ละช่องมี 1-2 ออวุล ออกดอกประมาณเดือนมิถุนายนถึงกันยายนผล:ผลเป็นผลแห้งเปลือกแข็ง 1 ผลมี 1-5 เมล็ด ส่วนของกลีบเลี้ยงจะพัฒนาเป็นกาบหุ้มผลจนมิดและเป็นกลีบบางๆ เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาล ตัวผลที่อยู่ในกลีบเลี้ยงมีขนสีน้ำตาลปกคลุม แห้งกลม ผลแก่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคมเปลือก:เปลือกนอกสีเทาหรือสีน้ำตาลปนเทาอ่อน เปลือกเรียบหรือแตกแบบรอยไถ เปลือกในสีเขียวอ่อนๆถึงสีน้ำตาลอ่อนอื่นๆ:

ไม้ต้นขนาดใหญ่ ความสูง 20-30 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลม ลำต้นเปลาตรง โคนต้นมักเป็นรากพอนต่ำๆ ค่อนข้างต่ำ
ใบเดี่ยว เรียงตัวแบบตรงข้ามสลับตั้งฉาก กว้าง 15-20 เซนติเมตร ยาว 25-30 เซนติเมตร ใบรูปไข่แกมรูปรี รูปไข่กลับ ฐานใบมน ปลายใบแหลมหรือมน เนื้อใบสีเขียวเข้ม ใบสากคาย ด้านท้องใบสีอ่อนกว่าและมีต่อมเล็กๆสีแดง ถ้าขยี้ใบสดโดยเฉพาะใบอ่อนจะมีสีแดงเหมือนเลือด และเปลี่ยนเป็นสีคล้ำเมื่อถูกอากาศ ผลัดใบเดือนธันวาคมถึงมีนาคม
ดอกเป็นช่อแบบกระจุกซ้อนประกอบ (compound dichasium) เป็นช่อขนาดใหญ่ออกที่ปลายกิ่งหลังจากแตกใบใหม่ ดอกแต่ละดอกมีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ โคนกลีบติดกัน ปลายแยกเป็น 6 แฉก สีน้ำตาลอมเขียว กลีบดอก 6 กลีบ สีขาวนวลหรือสีเหลืองอ่อน เกสรเพศผู้ 5 อัน อาจเป็นหมัน 1 อัน โคนของเกสรเพศผู้ติดอยู่กับหลอดกลีบดอก (corolla tube) ด้านใน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบดอก รังไข่มี 2 ช่อง แต่ละช่องมี 1-2 ออวุล ออกดอกประมาณเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
ผลเป็นผลแห้งเปลือกแข็ง 1 ผลมี 1-5 เมล็ด ส่วนของกลีบเลี้ยงจะพัฒนาเป็นกาบหุ้มผลจนมิดและเป็นกลีบบางๆ เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาล ตัวผลที่อยู่ในกลีบเลี้ยงมีขนสีน้ำตาลปกคลุม แห้งกลม ผลแก่เดือนพฤศจิกายนถึงมกราคม
เปลือกนอกสีเทาหรือสีน้ำตาลปนเทาอ่อน เปลือกเรียบหรือแตกแบบรอยไถ เปลือกในสีเขียวอ่อนๆถึงสีน้ำตาลอ่อน
- ไม้ต้นขนาดใหญ่ ลำต้นตั้งตรงสูงได้ถึง 30 เมตร ผลัดใบในฤดูร้อน เปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องตื่นเล็ก ๆ สีเทา โคนต้นมักเป็นพูต่ำ ๆ ใบ เป็นใบเดียว ต้นเล็กจะมีใบใหญ่มาก โคนใบมน ปลายใบแหลม ยาวประมาณ 25-30 ซม. กว้างเกือบเทาความยาวเนื้อใบสากคาย สีเขียวเข้ม ด้านหลังใบสีอ่อนกว่า ถ้าขยี้ใบสดจะมีสีแดงช้ำ และเปลี่ยนเป็นสีเขียวคล้ำ ดอก เป็นช่อใหญ่หลวม ๆ ตามปลายกิ่ง ดอกมีขนาดเล็กสีขาวนวล ร่วงง่ายเกสรผู้ 5 อัน ผล แห้ง เป็นกระเปาะค่อนข้างกลม วัดเส้นผ่านศูนย์ประมาณ 2 ซม.เปลือกแข็งภายในโปร่งมีเมล็ด 1-3 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- พบทั่วไปตามป่าผลัดใบทางภาคเหนือที่ระดับความสูง 500 เมตรลงมา
- พบขึ้นทั่วไปในป่าผสมผลัดใบทางภาคเหนือ บางพื้นที่ในภาคกลางตอนบนและภาคตะวันตก
การกระจายพันธุ์ : พม่า ไทย ภูมิภาคอินโดจีน
- พบทั่วไปตามป่าผลัดใบทางภาคเหนือที่ระดับความสูง 500 เมตรลงมา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าประดางและป่าวังก์เจ้า ป่าสงวนแห่งชาติขุนแม่กวง(ป่าชุมชนบ้านตลาดขี้เหล็ก) ป่าสงวนแห่งชาติป่าวังใหญ่และป่าแม่น้ำน้อย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี
- สระบุรี
- ราชบุรี
- อุตรดิตถ์
- เชียงราย
- ลำปาง
- ลำปาง
- พะเยา, เชียงราย
- แม่ฮ่องสอน
- ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- สระบุรี
- ขอนแก่น, ชัยภูมิ
- พะเยา, เชียงราย
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- ตาก
- น่าน
- น่าน
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- กำแพงเพชร
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- พิษณุโลก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
- นนทบุรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เครื่องดนตรี,เครื่องเรือน ใบอ่อนให้สีแดงใช้ย้อมกระดาษ ย้อมผ้า