ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก มีกิ่งก้านมากและมีขนปกคลุม ใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามเป็นคู่ ๆ รูปรีหรือรีแกมขอบขนาน ปลายใบแหลมหรือมน ขอบใบหยักแบบฟันเลื่อย โคนใบแหลมหรือมน ตามเส้นใบมีขน ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ใบประดับรูปไข่ ปลายแหลมขอบมีขน ดอกติดรอบแกนข่อเป็นระยะ ๆ กลีบมนรูปเกือบกลมบานวกกลับไปทางด้านหลัง กลีบล่างยาวกว่ากลีบบน มีหยักรูปหอก 4 หยัก ผลแห้ง มีขนาดเล็ก ๆ 4 ผลอยู่ด้วยกัน รูปรี
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพืชพื้นเมืองเขตร้อนในถิ่นโลกเก่า คือบริเวณเขตร้อนของทวีปเอเชียและแอฟริกา แต่พบมากในแถบเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น อินเดีย ศรีลังกา เนปาล พม่า ไทย ลาว กัมพูชา ฯลฯ
-
เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียเขตร้อน แต่ปลูกได้ในเขตร้อนทั่วโลก
-
เป็นพืชพื้นเมืองของเอเชียเขตร้อน แต่ปลูกได้ในเขตร้อนทั่วโลก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
วิสัยพืช เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขามาก ลำต้น สูง 30-60 เซนติเมตร โคนต้นเป็นมีเนื้อแข็ง มีขนตามลำต้นและกิ่ง ลำต้นสีเขียวอมขาว และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกสลับตั้งฉาก สีเขียว ก้านใบยาวถึง 2.5 เซนติเมตร ใบรูปรีกว้าง ขนาด 3-6 x 1-3 เซนติเม
-
วิสัยพืช เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านสาขามาก ลำต้น สูง 30-60 เซนติเมตร โคนต้นเป็นมีเนื้อแข็ง มีขนตามลำต้นและกิ่ง ลำต้นสีเขียวอมขาว และยอดอ่อนมีขนสีขาว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกสลับตั้งฉาก สีเขียว ก้านใบยาวถึง 2.5 เซนติเมตร ใบรูปรีกว้าง ขนาด 3-6 x 1-3 เซนติเม
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นได้ดีในดินทุกชนิด แต่ชอบดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ร่วนซุย ระบายน้ำดี ปลูกได้ง่ายมากช่วงต้นฤดูฝน
-
ขึ้นได้ดีในดินทุกชนิด แต่ชอบดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ ร่วนซุย ระบายน้ำดี ปลูกได้ง่ายมากช่วงต้นฤดูฝน
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด หรือปักชำกิ่ง
-
เพาะเมล็ด หรือปักชำกิ่ง
การเก็บเกี่ยว :
-
ประมาณ 2 เดือนครึ่งหลังปลูก เก็บเกี่ยวสัปดาห์ละครั้ง จนอายุประมาณ 5-6 เดือน ตัดต้นทิ้ง ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ได้ตลอดปี
-
ประมาณ 2 เดือนครึ่งหลังปลูก เก็บเกี่ยวสัปดาห์ละครั้ง จนอายุประมาณ 5-6 เดือน ตัดต้นทิ้ง ฤดูกาลเก็บส่วนขยายพันธุ์ได้ตลอดปี
พื้นที่เพาะปลูก :
-
พื้นที่ปลูกมากที่สุดไปยังน้อยตามลำดับ ดังนี้ นครปฐม ชลบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี อ่างทอง นครศรีธรรมราช ลำพูน นนทบุรี สุราษฎร์ธานี นครราชสีมา ระยอง สระบุรี ขอนแก่น ชุมพร ราชบุรี นครสวรรค์ อุบลราชธานี (ระบบจัดเก็บและรายงานข้อมูลภ
-
พื้นที่ปลูกมากที่สุดไปยังน้อยตามลำดับ ดังนี้ นครปฐม ชลบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา เพชรบุรี อ่างทอง นครศรีธรรมราช ลำพูน นนทบุรี สุราษฎร์ธานี นครราชสีมา ระยอง สระบุรี ขอนแก่น ชุมพร ราชบุรี นครสวรรค์ อุบลราชธานี (ระบบจัดเก็บและรายงานข้อมูลภ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |