ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- วิสัยพืช เป็นไม้ล้มลุก ทุกส่วนมีกลิ่นหอม รากและลำต้น มีระบบรากแก้ว และรากฝอย ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม แก่นด้านในเป็นไม้เนื้ออ่อน สูง 30-100 เซนติเมตร ผิวลำต้นอ่อนหรือกิ่งอ่อนมีสีม่วงแดง ลำต้นแตกกิ่งตั้งแต่ระดับต่ำของลำต้นจนแลดูเป็นทรงพุ่ม กิ่งแตกออกเป็นคู่ตรง
- วิสัยพืช เป็นไม้ล้มลุก ทุกส่วนมีกลิ่นหอม รากและลำต้น มีระบบรากแก้ว และรากฝอย ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยม แก่นด้านในเป็นไม้เนื้ออ่อน สูง 30-100 เซนติเมตร ผิวลำต้นอ่อนหรือกิ่งอ่อนมีสีม่วงแดง ลำต้นแตกกิ่งตั้งแต่ระดับต่ำของลำต้นจนแลดูเป็นทรงพุ่ม กิ่งแตกออกเป็นคู่ตรง
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นในดินทุกชนิดที่มีความชื้นสม่ำเสมอและแสงแดดดีตลอดวัน เจริญดีในดินร่วนซุย อุดมสมบูรณ์ ระบายน้ำได้ดี
- ขึ้นในดินทุกชนิดที่มีความชื้นสม่ำเสมอและแสงแดดดีตลอดวัน เจริญดีในดินร่วนซุย อุดมสมบูรณ์ ระบายน้ำได้ดี
การกระจายพันธุ์ :
- ปลูกทั่วไปเป็นพืชสวนครัวหรือเพื่อการค้า
- ปลูกทั่วไปเป็นพืชสวนครัวหรือเพื่อการค้า
การขยายพันธุ์ :
- การหว่านเมล็ด การย้ายพันธุ์กล้าหลังการหว่านเมล็ด และการปักชำกิ่ง แต่วิธีที่นิยมจะเป็นการหว่านเมล็ด และการย้ายพันธุ์กล้า
- การหว่านเมล็ด การย้ายพันธุ์กล้าหลังการหว่านเมล็ด และการปักชำกิ่ง แต่วิธีที่นิยมจะเป็นการหว่านเมล็ด และการย้ายพันธุ์กล้า
การเก็บเกี่ยว :
- ประมาณ 2 เดือนครึ่งหลังปลูก เก็บเกี่ยว10 วันต่อครั้ง จนอายุประมาณ 1 ปี ตัดต้นทิ้ง
- ประมาณ 2 เดือนครึ่งหลังปลูก เก็บเกี่ยว10 วันต่อครั้ง จนอายุประมาณ 1 ปี ตัดต้นทิ้ง
พื้นที่เพาะปลูก :
- พื้นที่ปลูกมากที่สุดไปยังน้อยตามลำดับ ดังนี้ นครปฐม นครพนม ราชบุรี สุราษฎร์ธานี นครราชสีมา ชลบุรี ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา ชุมพร ลำพูน ปทุมธานี กรุงเทพฯ เพชรบุรี สงขลา นนทบุรี อ่างทอง ขอนแก่น นครศรีธรรมราช สระบุรี นครสวรรค์ (ระบบจัดเก็บและรายงานข้อมูลภาวะกา
- พื้นที่ปลูกมากที่สุดไปยังน้อยตามลำดับ ดังนี้ นครปฐม นครพนม ราชบุรี สุราษฎร์ธานี นครราชสีมา ชลบุรี ลพบุรี พระนครศรีอยุธยา ชุมพร ลำพูน ปทุมธานี กรุงเทพฯ เพชรบุรี สงขลา นนทบุรี อ่างทอง ขอนแก่น นครศรีธรรมราช สระบุรี นครสวรรค์ (ระบบจัดเก็บและรายงานข้อมูลภาวะกา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง