ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก โปร่ง สูง 1-4 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงคู่ตรงข้ามหรือเป็น 3 ใบตรงข้ามกัน รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 4-6 ซม. ยาว 15-20 ซม. ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ดอกสีม่วงหรือม่วงอมฟ้า ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยมีกลีบดอก 5 กลีบ กลีบข้าง 4 กลีบ สีขาวอมฟ้า กลีบล่างมีสีฟ้าเข้มหรือแกมม่วง มีเกสรโผล่พ้นดอกชัดเจน ผลสดรูปค่อนข้างกลม หรือรูปไข่กลับ ขนาด 0.4-0.5 มม. เมื่อสุกสีม่วงเข้มหรือดำ
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก โปร่ง สูง 1-4 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงคู่ตรงข้ามหรือเป็น 3 ใบตรงข้ามกัน รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 4-6 ซม. ยาว 15-20 ซม. ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ดอกสีม่วงหรือม่วงอมฟ้า ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยมีกลีบดอก 5 กลีบ กลีบข้าง 4 กลีบ สีขาวอมฟ้า กลีบล่างมีสีฟ้าเข้มหรือแกมม่วง มีเกสรโผล่พ้นดอกชัดเจน ผลสดรูปค่อนข้างกลม หรือรูปไข่กลับ ขนาด 0.4-0.5 มม. เมื่อสุกสีม่วงเข้มหรือดำ
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก โปร่ง สูง 1-4 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงคู่ตรงข้ามหรือเป็น 3 ใบตรงข้ามกัน รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 4-6 ซม. ยาว 15-20 ซม. ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ดอกสีม่วงหรือม่วงอมฟ้า ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยมีกลีบดอก 5 กลีบ กลีบข้าง 4 กลีบ สีขาวอมฟ้า กลีบล่างมีสีฟ้าเข้มหรือแกมม่วง มีเกสรโผล่พ้นดอกชัดเจน ผลสดรูปค่อนข้างกลม หรือรูปไข่กลับ ขนาด 0.4-0.5 มม. เมื่อสุกสีม่วงเข้มหรือดำ
-
ไม้พุ่มขนาดเล็ก โปร่ง สูง 1-4 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงคู่ตรงข้ามหรือเป็น 3 ใบตรงข้ามกัน รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 4-6 ซม. ยาว 15-20 ซม. ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย ดอกสีม่วงหรือม่วงอมฟ้า ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยมีกลีบดอก 5 กลีบ กลีบข้าง 4 กลีบ สีขาวอมฟ้า กลีบล่างมีสีฟ้าเข้มหรือแกมม่วง มีเกสรโผล่พ้นดอกชัดเจน ผลสดรูปค่อนข้างกลม หรือรูปไข่กลับ ขนาด 0.4-0.5 มม. เมื่อสุกสีม่วงเข้มหรือดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่ปากีสถาน อินเดีย พม่า ไทย จีน อินเดีย มาเลเซีย จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณที่เปิดและค่อนข้างชื้น ที่ความสูง 500-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่ปากีสถาน อินเดีย พม่า ไทย จีน อินเดีย มาเลเซีย จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณที่เปิดและค่อนข้างชื้น ที่ความสูง 500-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่ปากีสถาน อินเดีย พม่า ไทย จีน อินเดีย มาเลเซีย จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณที่เปิดและค่อนข้างชื้น ที่ความสูง 500-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
พบขึ้นกระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่ปากีสถาน อินเดีย พม่า ไทย จีน อินเดีย มาเลเซีย จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณที่เปิดและค่อนข้างชื้น ที่ความสูง 500-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ที่มาของข้อมูล