ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นเนื้ออ่อนขนาดเล็ก สูง 2-10 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3.5-9 ซม. ยาว 6-20 ซม. แผ่นใบหนา ปลายใบมน ผิวใบเหลือบมัน ดอก สีครีมแกมเหลือง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. มีกลิ่นหอม ขนาดบานเต็มที่ กว้าง 10-12 ซม. กลีบรองดอก โคนเชื่อมกันปลายแยก 5 กลีบ จะหุ้มรัดรังไข่ไว้เมื่อกลีบดอกร่วง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายมน เกสรผู้ 5 อัน ผล แบบผลสด ทรงกลม ผิวมัน กว้าง 3 ซม. ปลายผลมีก้านเกสรเมียติดอยู่ เป็นจงอยแหลมยาว โคนผลมีกลีบเลี้ยงหุ้มอยู่ เมล็ดจำนวนมาก
-
ไม้พุ่ม กึ่ง ไม้ต้นนขนาดเล็กที่เกาะอาศัยอยู่บนต้นไม้
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นเนื้ออ่อนขนาดเล็ก สูง 2-10 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3.5-9 ซม. ยาว 6-20 ซม. แผ่นใบหนา ปลายใบมน ผิวใบเหลือบมัน ดอก สีครีมแกมเหลือง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. มีกลิ่นหอม ขนาดบานเต็มที่ กว้าง 10-12 ซม. กลีบรองดอก โคนเชื่อมกันปลายแยก 5 กลีบ จะหุ้มรัดรังไข่ไว้เมื่อกลีบดอกร่วง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายมน เกสรผู้ 5 อัน ผล แบบผลสด ทรงกลม ผิวมัน กว้าง 3 ซม. ปลายผลมีก้านเกสรเมียติดอยู่ เป็นจงอยแหลมยาว โคนผลมีกลีบเลี้ยงหุ้มอยู่ เมล็ดจำนวนมาก
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นเนื้ออ่อนขนาดเล็ก สูง 2-10 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3.5-9 ซม. ยาว 6-20 ซม. แผ่นใบหนา ปลายใบมน ผิวใบเหลือบมัน ดอก สีครีมแกมเหลือง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. มีกลิ่นหอม ขนาดบานเต็มที่ กว้าง 10-12 ซม. กลีบรองดอก โคนเชื่อมกันปลายแยก 5 กลีบ จะหุ้มรัดรังไข่ไว้เมื่อกลีบดอกร่วง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายมน เกสรผู้ 5 อัน ผล แบบผลสด ทรงกลม ผิวมัน กว้าง 3 ซม. ปลายผลมีก้านเกสรเมียติดอยู่ เป็นจงอยแหลมยาว โคนผลมีกลีบเลี้ยงหุ้มอยู่ เมล็ดจำนวนมาก
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นเนื้ออ่อนขนาดเล็ก สูง 2-10 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3.5-9 ซม. ยาว 6-20 ซม. แผ่นใบหนา ปลายใบมน ผิวใบเหลือบมัน ดอก สีครีมแกมเหลือง ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. มีกลิ่นหอม ขนาดบานเต็มที่ กว้าง 10-12 ซม. กลีบรองดอก โคนเชื่อมกันปลายแยก 5 กลีบ จะหุ้มรัดรังไข่ไว้เมื่อกลีบดอกร่วง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ปลายแยก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายมน เกสรผู้ 5 อัน ผล แบบผลสด ทรงกลม ผิวมัน กว้าง 3 ซม. ปลายผลมีก้านเกสรเมียติดอยู่ เป็นจงอยแหลมยาว โคนผลมีกลีบเลี้ยงหุ้มอยู่ เมล็ดจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย พบขึ้นในป่าดงดิบ ตามซอกหินริมหน้าผา ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม
-
อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย พบขึ้นในป่าดงดิบ ตามซอกหินริมหน้าผา ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม
-
อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย พบขึ้นในป่าดงดิบ ตามซอกหินริมหน้าผา ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม
-
อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย พบขึ้นในป่าดงดิบ ตามซอกหินริมหน้าผา ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-ธันวาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
มุกดาหาร
-
จันทบุรี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ยะลา, นราธิวาส
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช