ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศต่างต้น ลำต้นมีหนามหรือไม่มี มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านใน หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4-12 ซม. แผ่นใบมักมีขนตามเส้นแขนงใบด้านล่าง ขอบจักฟันเลื่อย ปลายจักมีต่อม ก้านใบยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 1-2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับคล้ายใบ ก้านดอกยาว 3-8 มม. กลีบเลี้ยง 3-7 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. ขอบมีขนครุย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย จานฐานดอกเป็นวงหรือจักตื้น ๆ รังไข่มี 5-7 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 5-6 อัน แยกกันหรือเชื่อมติดกันที่โคน ยาว 2-2.5 มม. ติดทน ยอดเกสรคล้ายรูปเกือกม้า ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-2.5 ซม. สุกสีแดง ส่วนมากมี 10-14 ไพรีน
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศต่างต้น ลำต้นมีหนามหรือไม่มี มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านใน หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4-12 ซม. แผ่นใบมักมีขนตามเส้นแขนงใบด้านล่าง ขอบจักฟันเลื่อย ปลายจักมีต่อม ก้านใบยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 1-2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับคล้ายใบ ก้านดอกยาว 3-8 มม. กลีบเลี้ยง 3-7 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. ขอบมีขนครุย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย จานฐานดอกเป็นวงหรือจักตื้น ๆ รังไข่มี 5-7 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 5-6 อัน แยกกันหรือเชื่อมติดกันที่โคน ยาว 2-2.5 มม. ติดทน ยอดเกสรคล้ายรูปเกือกม้า ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-2.5 ซม. สุกสีแดง ส่วนมากมี 10-14 ไพรีน
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศต่างต้น ลำต้นมีหนามหรือไม่มี มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านใน หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4-12 ซม. แผ่นใบมักมีขนตามเส้นแขนงใบด้านล่าง ขอบจักฟันเลื่อย ปลายจักมีต่อม ก้านใบยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 1-2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับคล้ายใบ ก้านดอกยาว 3-8 มม. กลีบเลี้ยง 3-7 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. ขอบมีขนครุย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย จานฐานดอกเป็นวงหรือจักตื้น ๆ รังไข่มี 5-7 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 5-6 อัน แยกกันหรือเชื่อมติดกันที่โคน ยาว 2-2.5 มม. ติดทน ยอดเกสรคล้ายรูปเกือกม้า ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-2.5 ซม. สุกสีแดง ส่วนมากมี 10-14 ไพรีน
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศต่างต้น ลำต้นมีหนามหรือไม่มี มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านใน หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4-12 ซม. แผ่นใบมักมีขนตามเส้นแขนงใบด้านล่าง ขอบจักฟันเลื่อย ปลายจักมีต่อม ก้านใบยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 1-2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับคล้ายใบ ก้านดอกยาว 3-8 มม. กลีบเลี้ยง 3-7 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. ขอบมีขนครุย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย จานฐานดอกเป็นวงหรือจักตื้น ๆ รังไข่มี 5-7 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 5-6 อัน แยกกันหรือเชื่อมติดกันที่โคน ยาว 2-2.5 มม. ติดทน ยอดเกสรคล้ายรูปเกือกม้า ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-2.5 ซม. สุกสีแดง ส่วนมากมี 10-14 ไพรีน
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศต่างต้น ลำต้นมีหนามหรือไม่มี มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านใน หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4-12 ซม. แผ่นใบมักมีขนตามเส้นแขนงใบด้านล่าง ขอบจักฟันเลื่อย ปลายจักมีต่อม ก้านใบยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 1-2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับคล้ายใบ ก้านดอกยาว 3-8 มม. กลีบเลี้ยง 3-7 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 1.5-2 มม. ขอบมีขนครุย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศเมีย จานฐานดอกเป็นวงหรือจักตื้น ๆ รังไข่มี 5-7 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 5-6 อัน แยกกันหรือเชื่อมติดกันที่โคน ยาว 2-2.5 มม. ติดทน ยอดเกสรคล้ายรูปเกือกม้า ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-2.5 ซม. สุกสีแดง ส่วนมากมี 10-14 ไพรีน
- ใบ - ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับ ขนาดของใบค่อนข้างเล็ก มักเรียงชิดกันเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง มีรูปร่าง ขนาด เนื้อใบ และขนที่ขึ้นปกคลุมแตกต่างกันออกไป แต่ส่วนใหญ่แล้วแผ่นใบจะเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบกลม โคนใบสอบแคบ ส่วนขอบใบค่อนข้างเรียบหรือจัก (มักจักใกล้ปลายใบ) ใบมีขนาดกว้างประมาณ 1.5-3 เซนติเมตร และยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร แผ่นใบบางคล้ายกระดาษถึงหนาคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบเกลี้ยงถึงมีขนสั้นหนานุ่มทั้งสองด้าน ใบอ่อนและเส้นกลางใบเป็นสีแดงอมส้ม เส้นแขนงใบมีประมาณ 4-6 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห พอเห็นได้รางๆ ก้านใบเป็นสีเขียวหรือแดงและมีขนยาวประมาณ 3-8
มิลลิเมตร
ดอก - ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ โดยจะออกเป็นช่อสั้นๆ ตามซอกใบและปลายกิ่งมีจร ดอกย่อยมีจำนวนน้อย ดอกมีขนาดเล็กเป็นสีขาว เป็นดอกแบบแยกเพศอยู่กันคนละต้น ที่โคนช่อมีใบประดับ บางทีมีหนาม ก้านดอกมีขน ยาวประมาณ 3-5 เซนติเมตร กลีบดอกมีประมาณ 5-6 กลีบ ลักษณะของกลีบดอกเป็นรูปไข่ ปลายมน ยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ที่ขอบกลีบมีขนแน่น ส่วนด้านนอกค่อนข้างเกลี้ยง ดอกเพศผู้ จานฐานดอกจะแยกเป็นแฉกเล็กน้อยหรือหยักมน มีเกสรเพศผู้จำนวนมาก ก้านเกสรยาวประมาณ 2-2.5 มิลลิเมตร มีขนเฉพาะที่โคน ส่วนดอกเพศเมีย จานฐานดอกจะเรียบ รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ รังไข่กลม ปลายสอบแคบ มี 1 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียมีประมาณ 5-6 อัน ยาวได้ประมาณ 1 มิลลิเมตร แต่ละก้านปลายจะแยกออกเป็น 2 แฉก และม้วนออก ส่วนกลีบเลี้ยงมีประมาณ 5-6 กลีบ ลักษณะเป็นรูปไข่ ปลายมน มีขนาดกว้างประมาณ 1 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ผิวด้านในและขอบมีขนขึ้นหนาแน่น ส่วนด้านนอก
เกลี้ยง
ผล - ผลจะออกเดี่ยวๆ หรือออกเป็นพวงเล็กๆ ตามกิ่ง ลักษณะของผลเป็นรูปกลมหรือรี มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.8-1 เซนติเมตร ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีแดงคล้ำ ลักษณะชุ่มน้ำ ภายในผลมีเมล็ดประมาณ 5-8 เมล็ด มีก้านเกสรเพศเมียติดอยู่ที่ปลายผล ผลจะสุกในช่วงประมาณเดือนกรกฎาคมถึงเดือนสิงหาคม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น ลำต้น: สูง 8 ม. เปลือก: เปลือกต้นสีน้ำตาลอ่อน มีหนามเป็นคู่ ใบ: เป็นใบเดี่ยว ออกสลับ รูปไข่กลับ กว้าง 3-3.5 ซม. ยาว 4.5-5.5 ซม. ปลายใบมนหรือมีติ่ง ขอบใบเป็นซี่ห่างๆ ผิวเรียบหรือมีขนกระจาย ดอก: ช่อดอกออกที่ซอกใบ ดอกขนาดเล็ก สีเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ มีเกสรเพศผู้จำนวนมาก มีขนที่ฐาน ดอกเพศเมีย ก้านเกสร 5-6 อัน โคนเชื่อมติดกันที่ฐาน ผล: ผลกลม สีแดง เมื่อสุกสีม่วงเข้ม มีรอยรูปดาวที่ปลาย เมล็ด 4-7 เมล็ด เรียงเป็นรูปดาว
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 2-15 เมตร มีหนามยาวตามลำต้นและกิ่งซึ่งหนามเหล่านี้จะร่วงไปเมื่อต้นโตเต็มที่ ใบเดี่ยว ออกเป็นกระจุก ใบมีรูปร่างหลายแบบ รูปไข่ถึงรูปหอก ขอบใบหยักเหมือนฟันเลื่อย แผ่นใบเรียบหรือมีขนนุ่มสั้น ปกคลุมบนผิวทั้งสองด้าน ก้านใบสีแดงยาวเรียว มีขนนุ่ม ๆ สั้นปกคลุมดอก ออกเป็นช่อสั้น ๆ มีดอกย่อย 4-6 ดอก มีกลุ่มขนนุ่มสั้น ๆ ปกคลุม ออกดอกบริเวณง่ามใบและบริเวณปลายกิ่ง ยาว 3-10 ซม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียจะแยกกันอยู่คนละต้น ดอกมีขนาดเล็ก ดอกเพศผู้มีก้านดอกยาว 4-7 มม. กลีบเลี้ยงมี 4-6 กลีบ โคนติดกัน ปลายแยก ผล เป็นผลที่อ่อนนุ่ม ผลสุกมีสีดำ – แดง ลักษณะกลมหรือรูปไข่
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 2-15 เมตร มีหนามยาวตามลำต้นและกิ่งซึ่งหนามเหล่านี้จะร่วงไปเมื่อต้นโตเต็มที่ ใบเดี่ยว ออกเป็นกระจุก ใบมีรูปร่างหลายแบบ รูปไข่ถึงรูปหอก ขอบใบหยักเหมือนฟันเลื่อย แผ่นใบเรียบหรือมีขนนุ่มสั้น ปกคลุมบนผิวทั้งสองด้าน ก้านใบสีแดงยาวเรียว มีขนนุ่ม ๆ สั้นปกคลุมดอก ออกเป็นช่อสั้น ๆ มีดอกย่อย 4-6 ดอก มีกลุ่มขนนุ่มสั้น ๆ ปกคลุม ออกดอกบริเวณง่ามใบและบริเวณปลายกิ่ง ยาว 3-10 ซม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียจะแยกกันอยู่คนละต้น ดอกมีขนาดเล็ก ดอกเพศผู้มีก้านดอกยาว 4-7 มม. กลีบเลี้ยงมี 4-6 กลีบ โคนติดกัน ปลายแยก ผล เป็นผลที่อ่อนนุ่ม ผลสุกมีสีดำ – แดง ลักษณะกลมหรือรูปไข่
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 2-15 เมตร มีหนามยาวตามลำต้นและกิ่งซึ่งหนามเหล่านี้จะร่วงไปเมื่อต้นโตเต็มที่ ใบเดี่ยว ออกเป็นกระจุก ใบมีรูปร่างหลายแบบ รูปไข่ถึงรูปหอก ขอบใบหยักเหมือนฟันเลื่อย แผ่นใบเรียบหรือมีขนนุ่มสั้น ปกคลุมบนผิวทั้งสองด้าน ก้านใบสีแดงยาวเรียว มีขนนุ่ม ๆ สั้นปกคลุมดอก ออกเป็นช่อสั้น ๆ มีดอกย่อย 4-6 ดอก มีกลุ่มขนนุ่มสั้น ๆ ปกคลุม ออกดอกบริเวณง่ามใบและบริเวณปลายกิ่ง ยาว 3-10 ซม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียจะแยกกันอยู่คนละต้น ดอกมีขนาดเล็ก ดอกเพศผู้มีก้านดอกยาว 4-7 มม. กลีบเลี้ยงมี 4-6 กลีบ โคนติดกัน ปลายแยก ผล เป็นผลที่อ่อนนุ่ม ผลสุกมีสีดำ – แดง ลักษณะกลมหรือรูปไข่
- ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 2-15 เมตร มีหนามยาวตามลำต้นและกิ่งซึ่งหนามเหล่านี้จะร่วงไปเมื่อต้นโตเต็มที่ ใบเดี่ยว ออกเป็นกระจุก ใบมีรูปร่างหลายแบบ รูปไข่ถึงรูปหอก ขอบใบหยักเหมือนฟันเลื่อย แผ่นใบเรียบหรือมีขนนุ่มสั้น ปกคลุมบนผิวทั้งสองด้าน ก้านใบสีแดงยาวเรียว มีขนนุ่ม ๆ สั้นปกคลุมดอก ออกเป็นช่อสั้น ๆ มีดอกย่อย 4-6 ดอก มีกลุ่มขนนุ่มสั้น ๆ ปกคลุม ออกดอกบริเวณง่ามใบและบริเวณปลายกิ่ง ยาว 3-10 ซม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียจะแยกกันอยู่คนละต้น ดอกมีขนาดเล็ก ดอกเพศผู้มีก้านดอกยาว 4-7 มม. กลีบเลี้ยงมี 4-6 กลีบ โคนติดกัน ปลายแยก ผล เป็นผลที่อ่อนนุ่ม ผลสุกมีสีดำ – แดง ลักษณะกลมหรือรูปไข่
- จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 2-15 เมตร เรือนยอดแผ่กว้าง ปลายกิ่งโค้งลง ตามลำต้นและกิ่งใหญ่จะมีหนามแหลม กิ่งอ่อนจะมีหนามแหลมตามซอกใบ หนามยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร ส่วนกิ่งแก่ๆ มักจะไม่มีหนาม เปลือกต้นเป็นสีเหลืองอมเทาแตกเป็นร่องลึก มีช่องอากาศรูปรีกระจายแบบห่างๆ
การกระจายพันธุ์ :
- ออกดอก ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน
- ออกดอก ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน
- ออกดอก ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน
- ออกดอก ระหว่างเดือนมีนาคมถึงเมษายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- สุรินทร์
- บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- เชียงใหม่
- เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์
- พัทลุง
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- เลย
- เลย
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- ลพบุรี
- ลำพูน, ลำปาง
- ราชบุรี
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- ลำปาง
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
- สุรินทร์
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
การขยายพันธุ์ :
- วิธีที่ดีคือการแยกหน่อ และยังทำได้ทั้งการตอน, เพาะเมล็ด
- วิธีที่ดีคือการแยกหน่อ และยังทำได้ทั้งการตอน, เพาะเมล็ด
- วิธีที่ดีคือการแยกหน่อ และยังทำได้ทั้งการตอน, เพาะเมล็ด
- วิธีที่ดีคือการแยกหน่อ และยังทำได้ทั้งการตอน, เพาะเมล็ด
- วิธีที่ดีคือการแยกหน่อ และยังทำได้ทั้งการตอน, เพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ใบแห้งนำมาต้มกับน้ำกินเป็นยาบำรุงร่างกาย ผลใช้กินเป็นยาแก้อ่อนเพลีย แก่นหรือรากใช้กินเป็นยาแก้ตานขโมย ใช้เป็นยาแก้อหิวาตกโรค น้ำต้มจากใบแห้งใช้กินเป็นยาแก้ไข้ แก้ไอ หนามมีรสฝาดขื่น มีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ แก้ไข้พิษ ไข้กาฬ ลดความร้อน แก้พิษฝีต่างๆ น้ำยางจากต้นและใบสด ใช้กินเป็นยาลดไข้สำหรับเด็ก แก้อาการไอ น้ำต้มจากใบแห้งใช้กินเป็นยาขับเสมหะ แก่นมีรสฝาดขื่น ใช้ต้มน้ำดื่มเป็นยาขับเหงื่อ เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้เสียงแห้ง นำเปลือกมาแช่หรือชงเป็นยากลั้วคอแก้เจ็บคอ
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ