ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ไม่ผลัดใบ สูง 20-30 เมตริ ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกหรือรูปใบหอกแกมรูปขนาน กว้าง 2.5-4.5 ซม. ยาว 7-13 ซม. ขอบใบเรียบ ดอก สีเขียวครีมขนาดเล็ก ยาวประมาน 1 มม. ออกเป็นช่อตั้งขึ้น ยาว 10-15 ซม. กลีบรวม6กลีบ รูปขอบขนาน เกสรตัวผู้ 12 อันยาว 2 มม. ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ ผล รูปไข่ ลักษณะคล้ายหยดน้ำ ปลายแหลมเป็นติ่ง กว้างและยาวได้ถึง 1 ซม. มีกาบหุ้มผลเป็นหนาม มีขนแน่น ออกเป็นช่อยาว
-
ไม้ต้น ไม่ผลัดใบ สูง 20-30 เมตริ ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกหรือรูปใบหอกแกมรูปขนาน กว้าง 2.5-4.5 ซม. ยาว 7-13 ซม. ขอบใบเรียบ ดอก สีเขียวครีมขนาดเล็ก ยาวประมาน 1 มม. ออกเป็นช่อตั้งขึ้น ยาว 10-15 ซม. กลีบรวม6กลีบ รูปขอบขนาน เกสรตัวผู้ 12 อันยาว 2 มม. ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ ผล รูปไข่ ลักษณะคล้ายหยดน้ำ ปลายแหลมเป็นติ่ง กว้างและยาวได้ถึง 1 ซม. มีกาบหุ้มผลเป็นหนาม มีขนแน่น ออกเป็นช่อยาว
-
ไม้ต้น ไม่ผลัดใบ สูง 20-30 เมตริ ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกหรือรูปใบหอกแกมรูปขนาน กว้าง 2.5-4.5 ซม. ยาว 7-13 ซม. ขอบใบเรียบ ดอก สีเขียวครีมขนาดเล็ก ยาวประมาน 1 มม. ออกเป็นช่อตั้งขึ้น ยาว 10-15 ซม. กลีบรวม6กลีบ รูปขอบขนาน เกสรตัวผู้ 12 อันยาว 2 มม. ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ ผล รูปไข่ ลักษณะคล้ายหยดน้ำ ปลายแหลมเป็นติ่ง กว้างและยาวได้ถึง 1 ซม. มีกาบหุ้มผลเป็นหนาม มีขนแน่น ออกเป็นช่อยาว
-
ไม้ต้น ไม่ผลัดใบ สูง 20-30 เมตริ ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปใบหอกหรือรูปใบหอกแกมรูปขนาน กว้าง 2.5-4.5 ซม. ยาว 7-13 ซม. ขอบใบเรียบ ดอก สีเขียวครีมขนาดเล็ก ยาวประมาน 1 มม. ออกเป็นช่อตั้งขึ้น ยาว 10-15 ซม. กลีบรวม6กลีบ รูปขอบขนาน เกสรตัวผู้ 12 อันยาว 2 มม. ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ ผล รูปไข่ ลักษณะคล้ายหยดน้ำ ปลายแหลมเป็นติ่ง กว้างและยาวได้ถึง 1 ซม. มีกาบหุ้มผลเป็นหนาม มีขนแน่น ออกเป็นช่อยาว
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 600-1,700 เมตร ผลแก่เดือน ก.ย.-พ.ย.
-
พบตามป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 600-1,700 เมตร ผลแก่เดือน ก.ย.-พ.ย.
-
พบตามป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 600-1,700 เมตร ผลแก่เดือน ก.ย.-พ.ย.
-
พบตามป่าดิบแล้ง ที่ระดับความสูง 600-1,700 เมตร ผลแก่เดือน ก.ย.-พ.ย.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ชุมพร
-
ตาก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณเขาดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช