ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ไม่ผลัดใบ สูง 10-12 เมตร ใบเดี่ยว รูปไข่ถึงรูปรี กว้าง 7-9 ซม. ยาว 15-24 ซม. ขอบใบหยักเป็นซี่เล็กๆ มีต่อม 2 ต่อมเชื่อมกันที่ปลายของแต่ละหยักและที่ฐานของใบ ก้านใบ ยาว 4-17 ซม. หูใบร่วงง่าย ช่อดอก ยาว 12-22 ซม. ดอกย่อยสีขาว บางครั้งมีประสีชมพู ก้านดอกย่อยยาว 5-6 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ซ้อนกัน กลีบดอกไม่เท่ากัน 5-6 กลีบ เกสรเพศผู้ 20 อัน ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ปลายแยกเป็นเส้น รังไข่กลม มีขนสีขาว ผลแห้งแก่แล้วแตกตามพู ทรงกลม สีเขียว เมื่อสุกสีน้ำตาล มักจะเป็น 3 พู เมล็ดกลม มีสัน 2 สัน สีน้ำตาลหรือดำเป็นจุดลายๆ
-
ไม้ต้น ไม่ผลัดใบ สูง 10-12 เมตร ใบเดี่ยว รูปไข่ถึงรูปรี กว้าง 7-9 ซม. ยาว 15-24 ซม. ขอบใบหยักเป็นซี่เล็กๆ มีต่อม 2 ต่อมเชื่อมกันที่ปลายของแต่ละหยักและที่ฐานของใบ ก้านใบ ยาว 4-17 ซม. หูใบร่วงง่าย ช่อดอก ยาว 12-22 ซม. ดอกย่อยสีขาว บางครั้งมีประสีชมพู ก้านดอกย่อยยาว 5-6 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ซ้อนกัน กลีบดอกไม่เท่ากัน 5-6 กลีบ เกสรเพศผู้ 20 อัน ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ปลายแยกเป็นเส้น รังไข่กลม มีขนสีขาว ผลแห้งแก่แล้วแตกตามพู ทรงกลม สีเขียว เมื่อสุกสีน้ำตาล มักจะเป็น 3 พู เมล็ดกลม มีสัน 2 สัน สีน้ำตาลหรือดำเป็นจุดลายๆ
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. แยกเพศต่างต้นหรือร่วมต้น เปลือกมีน้ำยางสีแดง กิ่งมีช่องอากาศ หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 10-24 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว ก้านใบยาว 3.5-20 ซม. ปลายก้านมีต่อม 2 ต่อม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ห้อยลง ยาว 8-13 ซม. ช่อดอกเพศเมียสั้น กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจำนวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ดอกสีขาวหรืออมชมพู กลีบรูปไข่ ดอกเพศผู้กลีบเลี้ยงยาว 4-5 มม. กลีบดอกยาว 6-7 มม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ยาวเท่า ๆ กลีบดอก วงในเชื่อมติดกันที่โคนมากกว่าวงนอก จานฐานดอกเป็นต่อม 5-6 ต่อม ดอกเพศเมียกลีบเลี้ยงยาว 5-8 มม. ไม่ขยายในผล กลีบดอกยาวประมาณ 1 ซม. จานฐานดอกเป็นวง รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ยาว 2-3 มม. ปลายแยก 2 แฉก ติดทน ผลแห้งแตก เปลือกแข็ง จัก 3 พู ตื้น ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3.5 ซม. มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดรูปไข่ ยาว 1-1.5 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณป่าดิบชื้นริมลำธาร ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 700-800 เมตร ออกดอก เดือนมีนาคม ติดผลเดือนมิถุนายน
-
พบบริเวณป่าดิบชื้นริมลำธาร ที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 700-800 เมตร ออกดอก เดือนมีนาคม ติดผลเดือนมิถุนายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
จันทบุรี
-
ตาก
-
สุโขทัย
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
พิษณุโลก
-
ตาก
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น ความสูง 400-1500 เมตร
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช