ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เลื้อยล้มลุก ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กว้าง 1.5-6 ซม. ยาว 3-10 ซม. โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ขอบใบจักเป็นซี่เลื่อยหยาบๆ ผิวใบเกลี้ยงและเป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบเล็กเรียว ยาว 1-6 ซม. ดอกสีขาวแกมเขียวเป็นกระจุก ออกเป็นช่อตามซอกใบหรือปลายยอด ขนาด 1.5 มม. กลีบดอกยาว 5-9 มม. โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรผู้จำนวน 5 อัน อับเรณูสีเทา เกสรเมียสีขาว ปลายบิดโค้งแยกเป็น 2 แฉก ผลแห้ง สีน้ำตาลเข้ม รูปขอบขนานแคบ ยาว 3-3.5 มมม. มีรยางค์แข็งจำนวนมาก
- ไม้เถา
- ไม้เลื้อยล้มลุก ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กว้าง 1.5-6 ซม. ยาว 3-10 ซม. โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ขอบใบจักเป็นซี่เลื่อยหยาบๆ ผิวใบเกลี้ยงและเป็นคลื่นเล็กน้อย ก้านใบเล็กเรียว ยาว 1-6 ซม. ดอกสีขาวแกมเขียวเป็นกระจุก ออกเป็นช่อตามซอกใบหรือปลายยอด ขนาด 1.5 มม. กลีบดอกยาว 5-9 มม. โคนเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก เกสรผู้จำนวน 5 อัน อับเรณูสีเทา เกสรเมียสีขาว ปลายบิดโค้งแยกเป็น 2 แฉก ผลแห้ง สีน้ำตาลเข้ม รูปขอบขนานแคบ ยาว 3-3.5 มมม. มีรยางค์แข็งจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
- เป็นวัชพืชเจริญได้ดีในเขตร้อน พบตามชายป่าหรือข้างทาง มักขึ้นเป็นพุ่มคลุมพืชอื่นค่อนข้างแน่น ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
- เป็นวัชพืชเจริญได้ดีในเขตร้อน พบตามชายป่าหรือข้างทาง มักขึ้นเป็นพุ่มคลุมพืชอื่นค่อนข้างแน่น ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ใบใช้ตำพอกรักษาแผล ทั้งแผลสด แผลเปื่อย แผลมีน้ำหนอง ช่วยในการสมานแผลตำพอกรักษาอาการบวมปวด และฟกช้ำใบตำพอกตารักษาอาการเจ็บตา ตาบวมตาอักเสบใบใช้ตำหรือขยำก่อนใช้ทารักษาโรคผิวหนังอาทิ กลาก เกลื้อน น้ำกัดเท้า และโรคหิด เป็นต้น ใบใช้ตำพอก แก้พิษ และลดอาการปวดจากแมลงกัดต่อย พิษงู และพิษแมงป่องราก (ต้มดื่ม)– ต้มน้ำดื่มช่วยบำรุงตับ รักษาตับอักเสบ