ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สุง 8-20 เมตร ผลัดใบ กิ่งก้านแผ่ ที่โคนต้นมักมีพูพอนขนาดเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับกันแน่นใกล้ปลายกิ่ง รูปไข่กลับแคบๆ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-18 ซม. เนื้อใบค่อนข้างหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนมักเป็นเงามัน ก้านใบเรียว ยาว 1-4 ซม. มักมีต่อมหนึ่งคู่ อยู่บริเวณกึ่งกลางก้านใบ ดอกสีขาวแกมเหลือง ออกเป็นแกนช่อตามง่ามใบ ช่อดอกยาว 8-16 ซม. ดอกย่อยไม่มีก้านดอก เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 มม. มีกลิ่นหอมเอียน กลีบดอกเชื่อมติดกัน เป็นรูปถ้วย ยาว 1-2 มม. ปลายแยกเป็นกลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 1 มม. ด้านนอกมีขน ด้านในมีเกสรผู้จำนวนมารก ผลเป็นรูปสามเหลี่ยม แก่ไม่แตก มีปีก 2 ปีก มีขนคลุมสีน้ำตาลอ่อน กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม.
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สุง 8-20 เมตร ผลัดใบ กิ่งก้านแผ่ ที่โคนต้นมักมีพูพอนขนาดเล็ก ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนสลับกันแน่นใกล้ปลายกิ่ง รูปไข่กลับแคบๆ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-18 ซม. เนื้อใบค่อนข้างหนาคล้ายแผ่นหนัง ด้านบนมักเป็นเงามัน ก้านใบเรียว ยาว 1-4 ซม. มักมีต่อมหนึ่งคู่ อยู่บริเวณกึ่งกลางก้านใบ ดอกสีขาวแกมเหลือง ออกเป็นแกนช่อตามง่ามใบ ช่อดอกยาว 8-16 ซม. ดอกย่อยไม่มีก้านดอก เป็นดอกสมบูรณ์เพศ ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-2.5 มม. มีกลิ่นหอมเอียน กลีบดอกเชื่อมติดกัน เป็นรูปถ้วย ยาว 1-2 มม. ปลายแยกเป็นกลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 1 มม. ด้านนอกมีขน ด้านในมีเกสรผู้จำนวนมารก ผลเป็นรูปสามเหลี่ยม แก่ไม่แตก มีปีก 2 ปีก มีขนคลุมสีน้ำตาลอ่อน กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบทั่วไปในเอเชียตะว้นออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์และนิวกินี ในประเทศไทยพบตามป่าเบญจพรรณในระดับต่ำที่ความสูงไม่เกิน 200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ติดผลเดือนธันวาคม-เมษายน ทิ้งใบช่วงสั้นๆ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
- พบทั่วไปในเอเชียตะว้นออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์และนิวกินี ในประเทศไทยพบตามป่าเบญจพรรณในระดับต่ำที่ความสูงไม่เกิน 200 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนสิงหาคม-ธันวาคม ติดผลเดือนธันวาคม-เมษายน ทิ้งใบช่วงสั้นๆ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุบลราชธานี
- ระยอง, จันทบุรี
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- ระยอง
- ชัยภูมิ
- สระบุรี
- อุบลราชธานี
- มุกดาหาร
- มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
- สุโขทัย
- จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ราชบุรี
- ตาก
- ลำปาง
- ชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร