ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย สูง 2-6 เมตร ลำต้นสีเทา กิ่งคดไปมา มีหนามยาว 2-4 มม. ตรง หรือโค้งเล็กน้อย ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ขอบขนาน กว้าง 3-15 ซม. ยาว 9.5-24 ซม. ปลายใบมนหรือแหลม โคนใบสอบมน เนื้อใบค่อนข้างหนา มัน เกลี้ยง ก้านใบยาว 0.7-1 ซม. ดอก มี 6 ดอกออกเรียงอยู่เหนือง่ามใบ ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบรองกลีบดอก ลักษณะเว้าเป็นรูปเรือแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5.5 มม. ยาว 5.5-13 มม. ขอบมักมีขน กลีบดอกรูปขอบขนาน หรือรูปหอก กว้าง 3-7 มม. ยาว 10-25 มม. สีขาวหลุดร่วงง่าย มีต่อมน้ำหวานสีเหลือง แดงเข้ม น้ำตาล หรือม่วงเข้ม ที่โคนก้านดอก เกสรผู้มี 20-35 อัน ก้านยาว รังไข่รูปไข่ เกลี้ยง ผล สด กลม หรือรี มี 4 ร่องตามยาว กว้าง 3-6.5 ซม. สีเหลืองหรือแดง หรือดำเป็นมัน
-
ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย สูง 2-6 เมตร ลำต้นสีเทา กิ่งคดไปมา มีหนามยาว 2-4 มม. ตรง หรือโค้งเล็กน้อย ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ขอบขนาน กว้าง 3-15 ซม. ยาว 9.5-24 ซม. ปลายใบมนหรือแหลม โคนใบสอบมน เนื้อใบค่อนข้างหนา มัน เกลี้ยง ก้านใบยาว 0.7-1 ซม. ดอก มี 6 ดอกออกเรียงอยู่เหนือง่ามใบ ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบรองกลีบดอก ลักษณะเว้าเป็นรูปเรือแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5.5 มม. ยาว 5.5-13 มม. ขอบมักมีขน กลีบดอกรูปขอบขนาน หรือรูปหอก กว้าง 3-7 มม. ยาว 10-25 มม. สีขาวหลุดร่วงง่าย มีต่อมน้ำหวานสีเหลือง แดงเข้ม น้ำตาล หรือม่วงเข้ม ที่โคนก้านดอก เกสรผู้มี 20-35 อัน ก้านยาว รังไข่รูปไข่ เกลี้ยง ผล สด กลม หรือรี มี 4 ร่องตามยาว กว้าง 3-6.5 ซม. สีเหลืองหรือแดง หรือดำเป็นมัน
-
ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย สูง 2-6 เมตร ลำต้นสีเทา กิ่งคดไปมา มีหนามยาว 2-4 มม. ตรง หรือโค้งเล็กน้อย ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ขอบขนาน กว้าง 3-15 ซม. ยาว 9.5-24 ซม. ปลายใบมนหรือแหลม โคนใบสอบมน เนื้อใบค่อนข้างหนา มัน เกลี้ยง ก้านใบยาว 0.7-1 ซม. ดอก มี 6 ดอกออกเรียงอยู่เหนือง่ามใบ ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบรองกลีบดอก ลักษณะเว้าเป็นรูปเรือแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5.5 มม. ยาว 5.5-13 มม. ขอบมักมีขน กลีบดอกรูปขอบขนาน หรือรูปหอก กว้าง 3-7 มม. ยาว 10-25 มม. สีขาวหลุดร่วงง่าย มีต่อมน้ำหวานสีเหลือง แดงเข้ม น้ำตาล หรือม่วงเข้ม ที่โคนก้านดอก เกสรผู้มี 20-35 อัน ก้านยาว รังไข่รูปไข่ เกลี้ยง ผล สด กลม หรือรี มี 4 ร่องตามยาว กว้าง 3-6.5 ซม. สีเหลืองหรือแดง หรือดำเป็นมัน
-
ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย สูง 2-6 เมตร ลำต้นสีเทา กิ่งคดไปมา มีหนามยาว 2-4 มม. ตรง หรือโค้งเล็กน้อย ใบ เป็นใบเดี่ยวรูปไข่ ขอบขนาน กว้าง 3-15 ซม. ยาว 9.5-24 ซม. ปลายใบมนหรือแหลม โคนใบสอบมน เนื้อใบค่อนข้างหนา มัน เกลี้ยง ก้านใบยาว 0.7-1 ซม. ดอก มี 6 ดอกออกเรียงอยู่เหนือง่ามใบ ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบรองกลีบดอก ลักษณะเว้าเป็นรูปเรือแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5.5 มม. ยาว 5.5-13 มม. ขอบมักมีขน กลีบดอกรูปขอบขนาน หรือรูปหอก กว้าง 3-7 มม. ยาว 10-25 มม. สีขาวหลุดร่วงง่าย มีต่อมน้ำหวานสีเหลือง แดงเข้ม น้ำตาล หรือม่วงเข้ม ที่โคนก้านดอก เกสรผู้มี 20-35 อัน ก้านยาว รังไข่รูปไข่ เกลี้ยง ผล สด กลม หรือรี มี 4 ร่องตามยาว กว้าง 3-6.5 ซม. สีเหลืองหรือแดง หรือดำเป็นมัน
การกระจายพันธุ์ :
-
ชอบขึ้นในดินแห้ง ดินปูนป่าละเมาะ ทุ่งหญ้า ในที่ต่ำกว่า 500 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
ชอบขึ้นในดินแห้ง ดินปูนป่าละเมาะ ทุ่งหญ้า ในที่ต่ำกว่า 500 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
ชอบขึ้นในดินแห้ง ดินปูนป่าละเมาะ ทุ่งหญ้า ในที่ต่ำกว่า 500 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
-
ชอบขึ้นในดินแห้ง ดินปูนป่าละเมาะ ทุ่งหญ้า ในที่ต่ำกว่า 500 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
สระบุรี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
แพร่
-
แพร่
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
บึงกาฬ
-
ราชบุรี
-
พะเยา
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ศรีสะเกษ
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |