ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร เปลือกค่อนข้างเรียบสีเทาปนดำ เรือนยอดเป็นพุ่ม ใบ เป็นช่อแบบขนนก 2 ชั้น ติดเรียงเวียนสลับแน่น ตามปลายกิ่ง ใบย่อยโคนใบสอบและเบี้ยว ปลายใบทู่หรือหยักเข้าเล็กน้อย หลังใบสีเขียวเข้ม ส่วนท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก สีเหลือง ออกรวมกันเป็นช่อ ตั้งชี้ขึ้น ตามปลายกิ่งหรือตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง ช่อดอกยาว 20-30 ซม. กลีบรองกลีบดอกมี 5 กลีบ ขอบกลีบเกยทับกัน กลีบดอกมี 5 กลีบ ผิวกลีบย่น เกสรผู้มี 10 อัน รังไข่ รูปรีมีขนปกคลุม ผล เป็นฝักแบน เกลี้ยง ขนาด 2.5-10 ซม. ทั้งโคนและปลายฝักเรียวแหลม ฝักอ่อน สีเขียวพอแก่จัดออกสีน้ำตาลแดง ภายในมีเมล็ดแบน เรียงตัวตามยาวของฝักจำนวน 1-4 เมล็ด
- ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 25 ม. มีขนสีน้ำตาลแดงตามกิ่งอ่อน ช่อดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก หูใบยาว 1–2 มม. ใบประกอบยาว 25–30 ซม. ใบประกอบย่อยมี 4–13 คู่ ใบย่อยมี 10–22 คู่ รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 1.2–1.8 ซม. ปลายกลม เว้าตื้น โคนเบี้ยว แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มด้านล่าง ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง ยาว 20–40 ซม. ใบประดับยาว 5–8 มม. ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 5–7 มม. ตาดอกกลม กลีบเลี้ยงรูปรี ยาว 5–8 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ โคนและก้านกลีบมีขน ก้านชูอับเรณูยาว 1.2–1.5 ซม. รังไข่มีก้านสั้น ๆ มีขน ฝักรูปใบหอก ปลายแหลม โคนเรียวแคบ ยาวได้ถึง 12 ซม. ขอบมีปีกกว้าง 4–5 มม. มี 1–4 เมล็ด เรียงตามยาว
- ไม้ขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 10-25 ม. เรือนยอดแผ่กว้าง เปลือกแตกเป็นร่องตามยาว หรือล่อนเป็นสะเก็ด สีเทาถึงน้ำตาลคล้ำ กิ่งอ่อนมีขนสั้นนุ่มสีสนิมปกคลุม
ใบ ประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงเวียนสลับ ประกอบด้วยแขนงช่อใบย่อยแบบขนนกปลายคู่ เรียงตรงกันข้าม 15-20 คู่ แต่ละแขนงมีใบย่อยเรียงตรงกันข้าม 10-22 คู่ แผ่นใบย่อยรูปขอบขนาน ขนาด 0.5-0.8x1-1.8 ซม. โคนใบมน เยื้อง ขอบใบเรียบ ปลายใบเว้าตื้น เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบยกตัวเล็กน้อย เส้นแขนง 6-10 คู่ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห เนื้อใบบางคล้ายแผ่นหนัง ผิวใบด้านบนเกือบเกลี้ยง ด้านล่างมีขนสั้นหนานุ่มสีสนิมปกคลุม ก้านใบย่อยสั้นมาก ก่อนช่อใบยาว 6-10 ซม. โคนบวมพอง แกนกลางช่อใบยาว 20-30 ซม. หูใบคล้ายแส้ ขนาดเล็ก หลุดร่วงง่าย
ดอก แบบช่อเชิงลดมีก้านแยกแขนงขนาดใหญ่ ออกตามปลายกิ่ง ช่อดอกตั้งขึ้น ยาว 25-40 ซม. ดอกย่อยสีเหลือง รูปดอกนนทรี มีกลิ่นหอม ก้านดอกย่อยยาว 0.3-0.7 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาด 0.4-0.6x0.4-0.8 ซม. ด้านอกมีขนสั้หนานุ่มสีสนิม กลีบดอกบอบบาง 5 กลีบ รูปไข่กลับ ขนาดประมาณ 1x2 ซม. ขอบกลีบเป็นคลื่โคนกลีบมีขนปกคลุมหนาแน่น เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านเกสรยาว 1.2-1.5 ซม. รังไข่มีขนปกคลุม ภายในมีไข่อ่อ3-4 เมล็ด ออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม
ผล แบบฝักถั่ว (ฝักหักข้อ) แบน รูปทรงรีถึงรูปแถบแกมรูปใบหอก สีน้ำตาลอมแดง ขนาด 2-4x10-13 ซม. โคนและปลายฝักสอบ ขอบแบนคล้ายปีก ผิวเกลี้ยง และมีลายฝักตามยาว ฝักแห้งไม่แตก เมล็ดแบนรูปทรงขอบขนาน สีเหลืองอมน้ำตาล ขนาด 0.4-0.6x1-1.2 ซม. เรียงเป็นแถวตามยาว มี 1-4 เมล็ด ฝักแก่ระหว่างเดือนเมษายน-ตุลาคม
- ไม้ต้นขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 8-15 เมตร เปลือกค่อนข้างเรียบสีเทาปนดำ เรือนยอดเป็นพุ่ม ใบ เป็นช่อแบบขนนก 2 ชั้น ติดเรียงเวียนสลับแน่น ตามปลายกิ่ง ใบย่อยโคนใบสอบและเบี้ยว ปลายใบทู่หรือหยักเข้าเล็กน้อย หลังใบสีเขียวเข้ม ส่วนท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก สีเหลือง ออกรวมกันเป็นช่อ ตั้งชี้ขึ้น ตามปลายกิ่งหรือตามง่ามใบตอนปลายกิ่ง ช่อดอกยาว 20-30 ซม. กลีบรองกลีบดอกมี 5 กลีบ ขอบกลีบเกยทับกัน กลีบดอกมี 5 กลีบ ผิวกลีบย่น เกสรผู้มี 10 อัน รังไข่ รูปรีมีขนปกคลุม ผล เป็นฝักแบน เกลี้ยง ขนาด 2.5-10 ซม. ทั้งโคนและปลายฝักเรียวแหลม ฝักอ่อน สีเขียวพอแก่จัดออกสีน้ำตาลแดง ภายในมีเมล็ดแบน เรียงตัวตามยาวของฝักจำนวน 1-4 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- นนทรี พบขึ้นตามป่าชายหาด แลป่าเบญจพรรณชื้น ๆ ทั่วไป ที่สูงจากน้ำทะเล 10-300 เมตร
- ทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดถึงตอนเหนือของออสเตรเลีย และหมู่เกาะใกล้เคียง
- นนทรี พบขึ้นตามป่าชายหาด แลป่าเบญจพรรณชื้น ๆ ทั่วไป ที่สูงจากน้ำทะเล 10-300 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น (Tree)
- - ต้นนนทรี : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 8–15 เมตร เรือนยอดรูปร่ม ช่อดอกและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้นเรียงสลับ ใบย่อยออกตรงข้ามกันเป็นคู่
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
- ผล : เป็นฝักแบนรูปหอก โคนและปลายสอบแหลม
- - ต้นนนทรี : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 8–15 เมตร เรือนยอดรูปร่ม ช่อดอกและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้นเรียงสลับ ใบย่อยออกตรงข้ามกันเป็นคู่
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
- ผล : เป็นฝักแบนรูปหอก โคนและปลายสอบแหลม
- - ต้นนนทรี : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 8–15 เมตร เรือนยอดรูปร่ม ช่อดอกและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้นเรียงสลับ ใบย่อยออกตรงข้ามกันเป็นคู่
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
- ผล : เป็นฝักแบนรูปหอก โคนและปลายสอบแหลม
- - ต้นนนทรี : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 8–15 เมตร เรือนยอดรูปร่ม ช่อดอกและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้นเรียงสลับ ใบย่อยออกตรงข้ามกันเป็นคู่
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
- ผล : เป็นฝักแบนรูปหอก โคนและปลายสอบแหลม
- - ต้นนนทรี : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 8–15 เมตร เรือนยอดรูปร่ม ช่อดอกและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดง
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้นเรียงสลับ ใบย่อยออกตรงข้ามกันเป็นคู่
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกสีเหลือง ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มีนาคม
- ผล : เป็นฝักแบนรูปหอก โคนและปลายสอบแหลม
การขยายพันธุ์ :
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ลำปาง
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,เปลือกต้นขับโลหิต ละลายเสมหะ แก้ท้องร่วงหรือบิด
ที่มาของข้อมูล