ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง ๖ ม. ต้นและกิ่งก้านมี หนามแหลม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อ ที่ปลายยอด หรือซอกใบ ดอกสีเหลืองมีลายเส้นสีแดงด้านใน กลีบดอก ๕ กลีบ ผลเป็นฝักแข็ง ผลแก่สีนํ้าตาลแดง ปลายแหลม ออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 8-10 เมตร ลำต้นมีหนามโค้งแข็งๆ ทั่วไปทั้งลำต้น ผลัดใบแต่ผลิใบไว จะแตกขึ้นเป็นกอหรือเกือบชิดพื้นใบ:ใบประกอบแบบขนนก สองชั้น มีหนามที่บริเวณ โคนใบย่อย 10-18 คู่ ใบ ย่อยรูปขอบขนาน โคนใบเบี้ยว ปลายมน ก้านใบสั้นมากดอก:ช่อแยกแขนง ดอกออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง ใบประดับรูปใบหอกผล:รูปฝักขอบขนานเบี้ยว แบบผิวมันไม่แตกเปลือกแข็ง เมล็ดมี 3-5 เมล็ด รูปรีแกมขอบขนาน แบน สีน้ำตาลถึงดำ เปลือก:อื่นๆ:

ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 8-10 เมตร ลำต้นมีหนามโค้งแข็งๆ ทั่วไปทั้งลำต้น ผลัดใบแต่ผลิใบไว จะแตกขึ้นเป็นกอหรือเกือบชิดพื้น
ใบประกอบแบบขนนก สองชั้น มีหนามที่บริเวณ โคนใบย่อย 10-18 คู่ ใบ ย่อยรูปขอบขนาน โคนใบเบี้ยว ปลายมน ก้านใบสั้นมาก
ช่อแยกแขนง ดอกออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเหลือง ใบประดับรูปใบหอก
รูปฝักขอบขนานเบี้ยว แบบผิวมันไม่แตกเปลือกแข็ง เมล็ดมี 3-5 เมล็ด รูปรีแกมขอบขนาน แบน สีน้ำตาลถึงดำ

- ไม้พุ่มกึ่งเลื้อยขนาดใหญ่ แตกกิ่งต่ำ สูงได้ถึง 10 ม. ลำต้นมีหนามหนาโค้ง หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบย่อยมี 8-18 คู่ แกนกลางใบประกอบยาว 15-40 ซม. ใบย่อยมี 6-20 คู่ รูปขอบขนาน ยาว 1-2 ซม. ปลายกลม เว้าตื้น โคนเบี้ยว เกือบไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 15-30 ซม. มีหนาม ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 6 มม. ดอกยาวประมาณ 1.8 ซม. ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงกลีบล่างโค้ง ใหญ่กว่ากลีบอื่น ดอกสีเหลือง กลีบกลางมีก้านกลีบ ขนาดเล็ก เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1.2 ซม. ก้านชูอับเรณูมีขน รังไข่มีขน ฝักแบน แข็ง รูปขอบขนาน กว้างเป็นเหลี่ยม ช่วงปลายมีจะงอย ยาว 7-12 ซม. มี 2-4 เมล็ด รูปรี แบน ยาวประมาณ 1.8 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หนามขี้แรด, สกุล)
- ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง ๖ ม. ต้นและกิ่งก้านมี หนามแหลม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อ ที่ปลายยอด หรือซอกใบ ดอกสีเหลืองมีลายเส้นสีแดงด้านใน กลีบดอก ๕ กลีบ ผลเป็นฝักแข็ง ผลแก่สีนํ้าตาลแดง ปลายแหลม ออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง ๖ ม. ต้นและกิ่งก้านมี หนามแหลม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อ ที่ปลายยอด หรือซอกใบ ดอกสีเหลืองมีลายเส้นสีแดงด้านใน กลีบดอก ๕ กลีบ ผลเป็นฝักแข็ง ผลแก่สีนํ้าตาลแดง ปลายแหลม ออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
- ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง ๖ ม. ต้นและกิ่งก้านมี หนามแหลม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ดอกออกเป็นช่อ ที่ปลายยอด หรือซอกใบ ดอกสีเหลืองมีลายเส้นสีแดงด้านใน กลีบดอก ๕ กลีบ ผลเป็นฝักแข็ง ผลแก่สีนํ้าตาลแดง ปลายแหลม ออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน – กันยายน ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามเขาหินปูน ป่าเต็งรัง และป่าดงดิบแล้วทั่วไป เป็นไม้ที่ทนแล้งได้ดี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง ป่าสงวนแห่งชาติป่ายางน้ำกลัดเหนือและป่ายางน้ำกลัดใต้ ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูโหล่ย ป่าสงวนแห่งชาติป่าตะเบาะและป่าห้วยใหญ่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ต้นฝาง จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง หรือเป็นไม้พุ่ม หรือไม้พุ่มกึ่งไม้เถาผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 5-13 เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็งและโค้งสั้น ๆ อยู่ทั่วไป ถ้าเนื้อไม้หรือแก่นเป็นสีแดงเข้มและมีรสขมหวานจะเรียกว่า ฝางเสน" แต่ถ้าแก่นไม้เป็นสีเหลืองส้มและมีรสฝาดขื่นจะเรียกว่า "ฝางส้ม" พรรณไม้ชนิดนี้เป็นไม้กลางแจ้ง"
- ต้นฝาง จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง หรือเป็นไม้พุ่ม หรือไม้พุ่มกึ่งไม้เถาผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 5-13 เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็งและโค้งสั้น ๆ อยู่ทั่วไป ถ้าเนื้อไม้หรือแก่นเป็นสีแดงเข้มและมีรสขมหวานจะเรียกว่า ฝางเสน" แต่ถ้าแก่นไม้เป็นสีเหลืองส้มและมีรสฝาดขื่นจะเรียกว่า "ฝางส้ม" พรรณไม้ชนิดนี้เป็นไม้กลางแจ้ง"
- ต้นฝาง จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง หรือเป็นไม้พุ่ม หรือไม้พุ่มกึ่งไม้เถาผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 5-13 เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็งและโค้งสั้น ๆ อยู่ทั่วไป ถ้าเนื้อไม้หรือแก่นเป็นสีแดงเข้มและมีรสขมหวานจะเรียกว่า ฝางเสน" แต่ถ้าแก่นไม้เป็นสีเหลืองส้มและมีรสฝาดขื่นจะเรียกว่า "ฝางส้ม" พรรณไม้ชนิดนี้เป็นไม้กลางแจ้ง"
- ต้นฝาง จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง หรือเป็นไม้พุ่ม หรือไม้พุ่มกึ่งไม้เถาผลัดใบ มีความสูงของต้นประมาณ 5-13 เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็งและโค้งสั้น ๆ อยู่ทั่วไป ถ้าเนื้อไม้หรือแก่นเป็นสีแดงเข้มและมีรสขมหวานจะเรียกว่า ฝางเสน" แต่ถ้าแก่นไม้เป็นสีเหลืองส้มและมีรสฝาดขื่นจะเรียกว่า "ฝางส้ม" พรรณไม้ชนิดนี้เป็นไม้กลางแจ้ง"
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การปักกิ่งชำ
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การปักกิ่งชำ
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การปักกิ่งชำ
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การปักกิ่งชำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- เพชรบุรี
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- กาญจนบุรี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,งานศิลปะ,สีย้อมผ้า
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
- - Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
COUNTRY CULTIVAR
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด
DOATR 00042 ฝาง 0 Caesalpinia sappan ราชบุรี
gsno plantname ชนิดพันธุ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ เก็บที่จังหวัด