ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย ขนาดเล็ก สูง 4- 8 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู กว้าง 5-9 ซม. ยาว 6-10 ซม. เส้นใบ 9-11 เส้น ปลายใบแหลม ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่าง มีขน บางๆ หูใบขนาดเล็กหลุดร่วงง่าย ดอก สีขาวหรือแกมชมพูอ่อน ออกเป็นช่อแบบกระจะ มีดอกย่อยหนาแน่นเป็นพวง ยาวได้ถึง 7 ซม. ดอกย่อย บานเต็มที่กว้างประมาณ 1-1.4 ซม. กลีบรองดอกคล้าย กาบหรือแยกออกเป็นสองปาก กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายมน ดอกเพศผู้ที่ไม่เป็นหมันมีเกสรผู้ 10 อัน ดอกเพศเมียจะมีเกสรผู้ ที่เป็นหมันคล้ายเส้นด้าย 10 อัน รังไข่มีขน ผล เป็นฝักแบน ผิวเรียบ ปลายโค้งงอ ยาวประมาณ 7-14 ซม. มี 3-5 เมล็ด
- ไม้ต้นขนาดเล็ก
- ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย ขนาดเล็ก สูง 4- 8 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู กว้าง 5-9 ซม. ยาว 6-10 ซม. เส้นใบ 9-11 เส้น ปลายใบแหลม ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่าง มีขน บางๆ หูใบขนาดเล็กหลุดร่วงง่าย ดอก สีขาวหรือแกมชมพูอ่อน ออกเป็นช่อแบบกระจะ มีดอกย่อยหนาแน่นเป็นพวง ยาวได้ถึง 7 ซม. ดอกย่อย บานเต็มที่กว้างประมาณ 1-1.4 ซม. กลีบรองดอกคล้าย กาบหรือแยกออกเป็นสองปาก กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายมน ดอกเพศผู้ที่ไม่เป็นหมันมีเกสรผู้ 10 อัน ดอกเพศเมียจะมีเกสรผู้ ที่เป็นหมันคล้ายเส้นด้าย 10 อัน รังไข่มีขน ผล เป็นฝักแบน ผิวเรียบ ปลายโค้งงอ ยาวประมาณ 7-14 ซม. มี 3-5 เมล็ด
- ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย ขนาดเล็ก สูง 4- 8 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู กว้าง 5-9 ซม. ยาว 6-10 ซม. เส้นใบ 9-11 เส้น ปลายใบแหลม ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่าง มีขน บางๆ หูใบขนาดเล็กหลุดร่วงง่าย ดอก สีขาวหรือแกมชมพูอ่อน ออกเป็นช่อแบบกระจะ มีดอกย่อยหนาแน่นเป็นพวง ยาวได้ถึง 7 ซม. ดอกย่อย บานเต็มที่กว้างประมาณ 1-1.4 ซม. กลีบรองดอกคล้าย กาบหรือแยกออกเป็นสองปาก กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายมน ดอกเพศผู้ที่ไม่เป็นหมันมีเกสรผู้ 10 อัน ดอกเพศเมียจะมีเกสรผู้ ที่เป็นหมันคล้ายเส้นด้าย 10 อัน รังไข่มีขน ผล เป็นฝักแบน ผิวเรียบ ปลายโค้งงอ ยาวประมาณ 7-14 ซม. มี 3-5 เมล็ด
- ไม้พุ่มหรือกึ่งเลื้อย ขนาดเล็ก สูง 4- 8 เมตร ใบ เดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู กว้าง 5-9 ซม. ยาว 6-10 ซม. เส้นใบ 9-11 เส้น ปลายใบแหลม ผิวใบด้านบนเรียบ ด้านล่าง มีขน บางๆ หูใบขนาดเล็กหลุดร่วงง่าย ดอก สีขาวหรือแกมชมพูอ่อน ออกเป็นช่อแบบกระจะ มีดอกย่อยหนาแน่นเป็นพวง ยาวได้ถึง 7 ซม. ดอกย่อย บานเต็มที่กว้างประมาณ 1-1.4 ซม. กลีบรองดอกคล้าย กาบหรือแยกออกเป็นสองปาก กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ปลายมน ดอกเพศผู้ที่ไม่เป็นหมันมีเกสรผู้ 10 อัน ดอกเพศเมียจะมีเกสรผู้ ที่เป็นหมันคล้ายเส้นด้าย 10 อัน รังไข่มีขน ผล เป็นฝักแบน ผิวเรียบ ปลายโค้งงอ ยาวประมาณ 7-14 ซม. มี 3-5 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- ภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทย พบขึ้นทั่วไป ในที่โล่งและป่าผลัดใบผสมเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ที่ระดับความสูงถึง 800 เมตร
- ภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทย พบขึ้นทั่วไป ในที่โล่งและป่าผลัดใบผสมเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ที่ระดับความสูงถึง 800 เมตร
- ภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทย พบขึ้นทั่วไป ในที่โล่งและป่าผลัดใบผสมเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ที่ระดับความสูงถึง 800 เมตร
- ภูมิภาคอินโดจีน ประเทศไทย พบขึ้นทั่วไป ในที่โล่งและป่าผลัดใบผสมเกือบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ที่ระดับความสูงถึง 800 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- เชียงราย
- พะเยา
- ตาก
- ตาก
- ชัยภูมิ
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- ตาก
- ขอนแก่น, ชัยภูมิ
- ขอนแก่น, ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พะเยา, เชียงราย
- ชัยภูมิ
- ขอนแก่น
- ขอนแก่น
- เชียงราย, พะเยา
- ตาก
- ตาก
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- กำแพงเพชร
- ลพบุรี
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- แพร่, อุตรดิตถ์
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- กาญจนบุรี
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ