ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ยอดและกิ่งอ่อนสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู ขนาดผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. มีเส้นใบ 7-11 เส้น ปลายใบมน ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อสั้น ลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่ 5-25 ดอก กลีบดอกสีขาว รูปไข่ ยาว 8-12 ซม. เกสรผู้ 10 อัน เป็นหมัน 7 อัน ปกติ 3 อัน อับเกสรสีน้ำตาลแดง ผลเป็นฝักแบน ขอบเป็นสัน กว้าง 3-5.5 ซม. ยาว 18-25 ซม. ส่วนปลายเป็นติ่งยาว เมล็ดรูปไข่ แบน มี 10-15 เมล็ด แต่ละเมล็ดยาว 5-8 มม.
- ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ยอดและกิ่งอ่อนสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู ขนาดผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. มีเส้นใบ 7-11 เส้น ปลายใบมน ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อสั้น ลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่ 5-25 ดอก กลีบดอกสีขาว รูปไข่ ยาว 8-12 ซม. เกสรผู้ 10 อัน เป็นหมัน 7 อัน ปกติ 3 อัน อับเกสรสีน้ำตาลแดง ผลเป็นฝักแบน ขอบเป็นสัน กว้าง 3-5.5 ซม. ยาว 18-25 ซม. ส่วนปลายเป็นติ่งยาว เมล็ดรูปไข่ แบน มี 10-15 เมล็ด แต่ละเมล็ดยาว 5-8 มม.
- ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ยอดและกิ่งอ่อนสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู ขนาดผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. มีเส้นใบ 7-11 เส้น ปลายใบมน ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อสั้น ลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่ 5-25 ดอก กลีบดอกสีขาว รูปไข่ ยาว 8-12 ซม. เกสรผู้ 10 อัน เป็นหมัน 7 อัน ปกติ 3 อัน อับเกสรสีน้ำตาลแดง ผลเป็นฝักแบน ขอบเป็นสัน กว้าง 3-5.5 ซม. ยาว 18-25 ซม. ส่วนปลายเป็นติ่งยาว เมล็ดรูปไข่ แบน มี 10-15 เมล็ด แต่ละเมล็ดยาว 5-8 มม.
- ไม้เลื้อย มีมือเกาะ ยอดและกิ่งอ่อนสีแดง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้าง ตอนปลายแยกเป็น 2 พู ขนาดผ่าศูนย์กลาง 10-12 ซม. มีเส้นใบ 7-11 เส้น ปลายใบมน ใบด้านบนเกลี้ยง ด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-2 ซม. ดอกออกเป็นช่อสั้น ลักษณะเป็นกลุ่มใหญ่ 5-25 ดอก กลีบดอกสีขาว รูปไข่ ยาว 8-12 ซม. เกสรผู้ 10 อัน เป็นหมัน 7 อัน ปกติ 3 อัน อับเกสรสีน้ำตาลแดง ผลเป็นฝักแบน ขอบเป็นสัน กว้าง 3-5.5 ซม. ยาว 18-25 ซม. ส่วนปลายเป็นติ่งยาว เมล็ดรูปไข่ แบน มี 10-15 เมล็ด แต่ละเมล็ดยาว 5-8 มม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ พบบริเวณริมลำธารในป่าดิบชื้น ที่ความสูง 400-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
- พบขึ้นกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ พบบริเวณริมลำธารในป่าดิบชื้น ที่ความสูง 400-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
- พบขึ้นกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ พบบริเวณริมลำธารในป่าดิบชื้น ที่ความสูง 400-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
- พบขึ้นกระจายพันธุ์ในตอนเหนือของประเทศพม่า ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ พบบริเวณริมลำธารในป่าดิบชื้น ที่ความสูง 400-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สุราษฎร์ธานี
- บุรีรัมย์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- พิษณุโลก
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- อุตรดิตถ์
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ