ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 24 ก.ค. 2566 08:17 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 10-18 เมตร เรือนยอดแผ่กว้าง ต้นแก่มักมีปุ่มปม ใบเป็นใบประกอบ เรียงสลับกัน ช่อรวมยาว 18-30 ซม. แต่ละช่อมีใบย่อย 3-5 คู่ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 4-9 ซม. โคนและปลายใบมน ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม. ดอกสีเขียวอ่อนแกมสีแดงเรื่อ ออกเป็นช่อ ยาว 5-15 ซม. ทุกส่วนมีขนคลุมบางๆ ก้านดอกย่อยยาว 1 ซม. มีกลีบรองดอก 4 กลีบ กลีบดอก 1 กลีบ สีแดงเรื่อ รูปร่างแผ่เกือบกลม ยาว 7-9 มม. ส่วนฐานคอดเป็นก้านเกสรผู้ที่สมบูรณ์มี 7 อัน ผลเป็นฝักแบนรูปไม้บรรทัดสั้น กว้าง 7-10 ซม. ยาว 12-20 ซม. หนา 0.6-1 ซม. ผนังแข็ง เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีกตามยาว เมล็ดสีดำ ผิวมัน ที่โคนมีเยื่อหนาสีเหลืองหุ้มเป็นรูปถ้วย
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ลำต้นคดงอ มีขนสั้นนุ่มสีเทาตามช่อดอก ฐานดอก กลีบเลี้ยง โคนกลีบดอก ก้านชูอับเรณู และรังไข่ ใบประกอบปลายคู่ มีใบย่อย 3–5 คู่ รูปไข่ ยาว 5–9 ซม. ปลายมน เว้าตื้น ก้านใบย่อยยาว 3–5 มม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาว 5–15 ซม. ใบประดับรูปไข่ ยาว 6–9 มม. ใบประดับย่อยคล้ายใบประดับ ติดเหนือจุดกึ่งกลางก้านดอก ติดทน ก้านดอกยาว 0.7–1 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปรี คู่นอกขนาดเล็กกว่าคู่ในเล็กน้อย ยาว 1–1.2 ซม. กลีบดอกมีกลีบเดียว สีชมพูอมแดง รูปขอบขนาน ยาว 1.2–2 ซม. โคนเรียวแคบเป็นก้านกลีบ ปลายเว้าตื้น เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 7 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2–3 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3 อัน รูปเส้นด้าย รังไข่มีก้านสั้น ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 2–2.5 ซม. ยอดเกสรขนาดเล็ก ฝักแบนรูปขอบขนาน เบี้ยว ยาว 15–20 ซม. ปลายเป็นจะงอยสั้น ๆ เปลือกหนา เมล็ดรูปรี ยาว 2.5–3 ซม. มีผนังกั้น ขั้วเมล็ดมีเยื่อหุ้มหนาสีเหลืองอมส้ม
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 10-18 เมตร เรือนยอดแผ่กว้าง ต้นแก่มักมีปุ่มปม ใบเป็นใบประกอบ เรียงสลับกัน ช่อรวมยาว 18-30 ซม. แต่ละช่อมีใบย่อย 3-5 คู่ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 4-9 ซม. โคนและปลายใบมน ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม. ดอกสีเขียวอ่อนแกมสีแดงเรื่อ ออกเป็นช่อ ยาว 5-15 ซม. ทุกส่วนมีขนคลุมบางๆ ก้านดอกย่อยยาว 1 ซม. มีกลีบรองดอก 4 กลีบ กลีบดอก 1 กลีบ สีแดงเรื่อ รูปร่างแผ่เกือบกลม ยาว 7-9 มม. ส่วนฐานคอดเป็นก้านเกสรผู้ที่สมบูรณ์มี 7 อัน ผลเป็นฝักแบนรูปไม้บรรทัดสั้น กว้าง 7-10 ซม. ยาว 12-20 ซม. หนา 0.6-1 ซม. ผนังแข็ง เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีกตามยาว เมล็ดสีดำ ผิวมัน ที่โคนมีเยื่อหนาสีเหลืองหุ้มเป็นรูปถ้วย
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 10-18 เมตร เรือนยอดแผ่กว้าง ต้นแก่มักมีปุ่มปม ใบเป็นใบประกอบ เรียงสลับกัน ช่อรวมยาว 18-30 ซม. แต่ละช่อมีใบย่อย 3-5 คู่ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 4-9 ซม. โคนและปลายใบมน ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม. ดอกสีเขียวอ่อนแกมสีแดงเรื่อ ออกเป็นช่อ ยาว 5-15 ซม. ทุกส่วนมีขนคลุมบางๆ ก้านดอกย่อยยาว 1 ซม. มีกลีบรองดอก 4 กลีบ กลีบดอก 1 กลีบ สีแดงเรื่อ รูปร่างแผ่เกือบกลม ยาว 7-9 มม. ส่วนฐานคอดเป็นก้านเกสรผู้ที่สมบูรณ์มี 7 อัน ผลเป็นฝักแบนรูปไม้บรรทัดสั้น กว้าง 7-10 ซม. ยาว 12-20 ซม. หนา 0.6-1 ซม. ผนังแข็ง เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีกตามยาว เมล็ดสีดำ ผิวมัน ที่โคนมีเยื่อหนาสีเหลืองหุ้มเป็นรูปถ้วย
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 10-18 เมตร เรือนยอดแผ่กว้าง ต้นแก่มักมีปุ่มปม ใบเป็นใบประกอบ เรียงสลับกัน ช่อรวมยาว 18-30 ซม. แต่ละช่อมีใบย่อย 3-5 คู่ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 4-9 ซม. โคนและปลายใบมน ก้านใบย่อยยาว 3-5 มม. ดอกสีเขียวอ่อนแกมสีแดงเรื่อ ออกเป็นช่อ ยาว 5-15 ซม. ทุกส่วนมีขนคลุมบางๆ ก้านดอกย่อยยาว 1 ซม. มีกลีบรองดอก 4 กลีบ กลีบดอก 1 กลีบ สีแดงเรื่อ รูปร่างแผ่เกือบกลม ยาว 7-9 มม. ส่วนฐานคอดเป็นก้านเกสรผู้ที่สมบูรณ์มี 7 อัน ผลเป็นฝักแบนรูปไม้บรรทัดสั้น กว้าง 7-10 ซม. ยาว 12-20 ซม. หนา 0.6-1 ซม. ผนังแข็ง เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีกตามยาว เมล็ดสีดำ ผิวมัน ที่โคนมีเยื่อหนาสีเหลืองหุ้มเป็นรูปถ้วย
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตามริมลำธารในป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้งทั่วไป ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ฝักแก่ช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
-
จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตามริมลำธารในป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้งทั่วไป ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ฝักแก่ช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
-
จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตามริมลำธารในป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้งทั่วไป ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ฝักแก่ช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
-
จากอินเดียถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตามริมลำธารในป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้งทั่วไป ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ฝักแก่ช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ป่าดอยอินทนนท์, เส้นทางสายจอมทอง แยกเข้าทางบ้านกู่ฮ่อสามัคคี บริเวณด่านตรวจที่ 3 ของอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ และบริเวณน้ำตกแม่ยะ
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
พิษณุโลก
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
อุทัยธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
เพชรบูรณ์
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
เลย
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
สุโขทัย
-
ชลบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
บึงกาฬ
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
หนองคาย
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
เป็นชื่อของไม้เนื้อแข็งยืนต้นที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่สามารถปลูกเป็นไม้ทางเศรษฐกิจได้ เป็นต้นไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดสุโขทัย ผลัดใบช่วงสั้น ๆ สูงได้ถึง 30 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มกว้าง เปลือกต้นสีเทาอ่อน หรือสีชมพูอมน้ำตาล ผิวต้นขรุขระ กิ่งอ่อนมีขนประปราย ต้นแก่มักมีปุ่มปม
-
เป็นชื่อของไม้เนื้อแข็งยืนต้นที่มีขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่สามารถปลูกเป็นไม้ทางเศรษฐกิจได้ เป็นต้นไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดสุโขทัย ผลัดใบช่วงสั้น ๆ สูงได้ถึง 30 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มกว้าง เปลือกต้นสีเทาอ่อน หรือสีชมพูอมน้ำตาล ผิวต้นขรุขระ กิ่งอ่อนมีขนประปราย ต้นแก่มักมีปุ่มปม
-
- ไม้ต้น : ขนาดใหญ่ แต่สูงไม่มากนัก ผลัดใบ แตกกิ่งต่ำ เรือนยอดเป็นพุ่มกว้าง ลำต้นมักเป็นครีบและปุ่มปม โคนเป็นพูพอน
- เปลือก : สีน้ำตาลอ่อนหรือชมพูอมน้ำตาล แตกสะเก็ดเป็นหลุมตื้น ๆ
- ใบ : ประกอบเรียงสลับ ใบย่อยติดตรงข้ามกันเป็นคู่ 3 - 5 คู่ แผ่นใบรูปไข่แกมรูป ขอบขนาน กว้าง 2 - 5 เซนติเมตร ยาว 4 - 9 เซนติเมตร โคนใบมนหรือหยักเว้าเล็กน้อยปลายใบทู่เป็นติ่ง
- ดอก : ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ช่อยาว 5 - 15 เซนติเมตร กลีบดอกมี 4 กลีบ แต่ละกลีบซ้อนทับกัน มีเพียงกลีบบนสุดเพียงกลีบเดียวที่เจริญขึ้นเป็นกลีบดอกสีแดงเรื่อ ๆ หรือแดงอมชมพู
- ผล : เป็นฝักแบนแข็ง รูปบรรทัดสั้น ๆ กว้าง 7 - 10 เซนติเมตร ยาว 12 - 20 เซนติเมตร แตกออกเป็น 2 ซีก เมื่อแห้ง เมล็ดแก่สีดำเป็นมัน เรียงตามขวาง 4 - 5 เมล็ด แต่ละเมล็ดมีเยื่อหนารูปถ้วยสีเหลืองสดห่อหุ้ม ส่วนฐานอยู่
- เปลือก : สีน้ำตาลอ่อนหรือชมพูอมน้ำตาล แตกสะเก็ดเป็นหลุมตื้น ๆ
- ใบ : ประกอบเรียงสลับ ใบย่อยติดตรงข้ามกันเป็นคู่ 3 - 5 คู่ แผ่นใบรูปไข่แกมรูป ขอบขนาน กว้าง 2 - 5 เซนติเมตร ยาว 4 - 9 เซนติเมตร โคนใบมนหรือหยักเว้าเล็กน้อยปลายใบทู่เป็นติ่ง
- ดอก : ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ช่อยาว 5 - 15 เซนติเมตร กลีบดอกมี 4 กลีบ แต่ละกลีบซ้อนทับกัน มีเพียงกลีบบนสุดเพียงกลีบเดียวที่เจริญขึ้นเป็นกลีบดอกสีแดงเรื่อ ๆ หรือแดงอมชมพู
- ผล : เป็นฝักแบนแข็ง รูปบรรทัดสั้น ๆ กว้าง 7 - 10 เซนติเมตร ยาว 12 - 20 เซนติเมตร แตกออกเป็น 2 ซีก เมื่อแห้ง เมล็ดแก่สีดำเป็นมัน เรียงตามขวาง 4 - 5 เมล็ด แต่ละเมล็ดมีเยื่อหนารูปถ้วยสีเหลืองสดห่อหุ้ม ส่วนฐานอยู่
-
- ไม้ต้น : ขนาดใหญ่ แต่สูงไม่มากนัก ผลัดใบ แตกกิ่งต่ำ เรือนยอดเป็นพุ่มกว้าง ลำต้นมักเป็นครีบและปุ่มปม โคนเป็นพูพอน
- เปลือก : สีน้ำตาลอ่อนหรือชมพูอมน้ำตาล แตกสะเก็ดเป็นหลุมตื้น ๆ
- ใบ : ประกอบเรียงสลับ ใบย่อยติดตรงข้ามกันเป็นคู่ 3 - 5 คู่ แผ่นใบรูปไข่แกมรูป ขอบขนาน กว้าง 2 - 5 เซนติเมตร ยาว 4 - 9 เซนติเมตร โคนใบมนหรือหยักเว้าเล็กน้อยปลายใบทู่เป็นติ่ง
- ดอก : ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ช่อยาว 5 - 15 เซนติเมตร กลีบดอกมี 4 กลีบ แต่ละกลีบซ้อนทับกัน มีเพียงกลีบบนสุดเพียงกลีบเดียวที่เจริญขึ้นเป็นกลีบดอกสีแดงเรื่อ ๆ หรือแดงอมชมพู
- ผล : เป็นฝักแบนแข็ง รูปบรรทัดสั้น ๆ กว้าง 7 - 10 เซนติเมตร ยาว 12 - 20 เซนติเมตร แตกออกเป็น 2 ซีก เมื่อแห้ง เมล็ดแก่สีดำเป็นมัน เรียงตามขวาง 4 - 5 เมล็ด แต่ละเมล็ดมีเยื่อหนารูปถ้วยสีเหลืองสดห่อหุ้ม ส่วนฐานอยู่
- เปลือก : สีน้ำตาลอ่อนหรือชมพูอมน้ำตาล แตกสะเก็ดเป็นหลุมตื้น ๆ
- ใบ : ประกอบเรียงสลับ ใบย่อยติดตรงข้ามกันเป็นคู่ 3 - 5 คู่ แผ่นใบรูปไข่แกมรูป ขอบขนาน กว้าง 2 - 5 เซนติเมตร ยาว 4 - 9 เซนติเมตร โคนใบมนหรือหยักเว้าเล็กน้อยปลายใบทู่เป็นติ่ง
- ดอก : ออกรวมกันเป็นช่อตามปลายกิ่ง ช่อยาว 5 - 15 เซนติเมตร กลีบดอกมี 4 กลีบ แต่ละกลีบซ้อนทับกัน มีเพียงกลีบบนสุดเพียงกลีบเดียวที่เจริญขึ้นเป็นกลีบดอกสีแดงเรื่อ ๆ หรือแดงอมชมพู
- ผล : เป็นฝักแบนแข็ง รูปบรรทัดสั้น ๆ กว้าง 7 - 10 เซนติเมตร ยาว 12 - 20 เซนติเมตร แตกออกเป็น 2 ซีก เมื่อแห้ง เมล็ดแก่สีดำเป็นมัน เรียงตามขวาง 4 - 5 เมล็ด แต่ละเมล็ดมีเยื่อหนารูปถ้วยสีเหลืองสดห่อหุ้ม ส่วนฐานอยู่
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
-
โดยการเพาะเมล็ด
-
โดยการเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เครื่องดนตรี,เนื้อไม้ใช้ทำกระดานและพื้นบ้าน
-
ไม้ประเภทนี้เป็นไม้เนื้อแข็ง ตัวเนื้อไม้มีลวดลายสวยงาม สีเนื้อไม้น้ำตาลอมแดง จึงได้รับความนิยมนำมาแปรรูปเป็นไม้ปูพื้น เสาบ้าน วงกบ ชายคา และเฟอร์นิเจอร์
เปลือกมะค่ามีน้ำฝาดนิยมนำมาใช้ในการฟอกหนัง
ฝักอ่อนนิยมนำมาต้มทานไม่ว่าจะเป็นการทานเป็นของทานเล่นกับทานแกล้มคู่กับข้าว
เมล็ดแก่ก็นำมาเผาไฟหรือคั่วเพื่อใช้ทาน เนื้อเมล็ดจะมีรสมันอร่อย
-
ไม้ประเภทนี้เป็นไม้เนื้อแข็ง ตัวเนื้อไม้มีลวดลายสวยงาม สีเนื้อไม้น้ำตาลอมแดง จึงได้รับความนิยมนำมาแปรรูปเป็นไม้ปูพื้น เสาบ้าน วงกบ ชายคา และเฟอร์นิเจอร์
เปลือกมะค่ามีน้ำฝาดนิยมนำมาใช้ในการฟอกหนัง
ฝักอ่อนนิยมนำมาต้มทานไม่ว่าจะเป็นการทานเป็นของทานเล่นกับทานแกล้มคู่กับข้าว
เมล็ดแก่ก็นำมาเผาไฟหรือคั่วเพื่อใช้ทาน เนื้อเมล็ดจะมีรสมันอร่อย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 1998)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช