ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร โคนต้นมักเป็นพูพอน เปลือกสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 4-9 คู่ รูปไข่หรืรูปไข่แกมขอบขนานกว้าง 2-7 ซม. ยาว 2-15 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม ก้านใบสั้นมาก ดอกออกเป็นช่อแน่น ยาว 20-25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 3-4 มม. มีขน กลีบดอก 5 กลีบ สีแดง รูปแถบ ยาว 6-10 มม. เกสรเพศผู้ สีส้มเหลือง โคนเกสรสีเขียว ยาวเป็นสองเท่าของกลีบดอก เกลี้ยง ผล เป็นฝัก แบน แห้งแล้วแตก กว้าง1-2 ซม. ยาว 8-15 ซม. มีปีกตามขอบฝักด้านบน กว้าง 3-5 มม. เมล็ด แบน สีน้ำตาลอ่อน
- ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มตามยอดอ่อน ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ใบประกอบ 2 ชั้น แกนใบประกอบยาว 10–60 ซม. มีขนละเอียด ก้านใบยาว 5–20 ซม. ใบประกอบย่อยมี 3–5 คู่ ใบย่อยมี 4–9 คู่ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2–15 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนรูปลิ่มกว้างถึงกลม เบี้ยว ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบ 1–3 ช่อ ยาว 20–25 ซม. ก้านดอกยาว 6–8 มม. ฐานดอกรูประฆัง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ปลายมน ยาว 3–4 มม. ดอกสีแดง มี 5 กลีบ รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 0.6–1 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดระหว่างกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสีเหลืองอมแดง ยาวประมาณ 2 เท่าของกลีบดอก อับเรณูติดไหว รังไข่มีก้านยาว ออวุลจำนวนมาก ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรขนาดเล็ก ฝักแบน เรียวแคบ ยาว 8–15 ซม. ปีกกว้าง 3–5 มม. เมล็ดรูปไข่ แบน ยาว 5–7 มม.
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร โคนต้นมักเป็นพูพอน เปลือกสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 4-9 คู่ รูปไข่หรืรูปไข่แกมขอบขนานกว้าง 2-7 ซม. ยาว 2-15 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม ก้านใบสั้นมาก ดอกออกเป็นช่อแน่น ยาว 20-25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 3-4 มม. มีขน กลีบดอก 5 กลีบ สีแดง รูปแถบ ยาว 6-10 มม. เกสรเพศผู้ สีส้มเหลือง โคนเกสรสีเขียว ยาวเป็นสองเท่าของกลีบดอก เกลี้ยง ผล เป็นฝัก แบน แห้งแล้วแตก กว้าง1-2 ซม. ยาว 8-15 ซม. มีปีกตามขอบฝักด้านบน กว้าง 3-5 มม. เมล็ด แบน สีน้ำตาลอ่อน
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร โคนต้นมักเป็นพูพอน เปลือกสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 4-9 คู่ รูปไข่หรืรูปไข่แกมขอบขนานกว้าง 2-7 ซม. ยาว 2-15 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม ก้านใบสั้นมาก ดอกออกเป็นช่อแน่น ยาว 20-25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 3-4 มม. มีขน กลีบดอก 5 กลีบ สีแดง รูปแถบ ยาว 6-10 มม. เกสรเพศผู้ สีส้มเหลือง โคนเกสรสีเขียว ยาวเป็นสองเท่าของกลีบดอก เกลี้ยง ผล เป็นฝัก แบน แห้งแล้วแตก กว้าง1-2 ซม. ยาว 8-15 ซม. มีปีกตามขอบฝักด้านบน กว้าง 3-5 มม. เมล็ด แบน สีน้ำตาลอ่อน
- ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร โคนต้นมักเป็นพูพอน เปลือกสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อย 4-9 คู่ รูปไข่หรืรูปไข่แกมขอบขนานกว้าง 2-7 ซม. ยาว 2-15 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบแหลม ก้านใบสั้นมาก ดอกออกเป็นช่อแน่น ยาว 20-25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 3-4 มม. มีขน กลีบดอก 5 กลีบ สีแดง รูปแถบ ยาว 6-10 มม. เกสรเพศผู้ สีส้มเหลือง โคนเกสรสีเขียว ยาวเป็นสองเท่าของกลีบดอก เกลี้ยง ผล เป็นฝัก แบน แห้งแล้วแตก กว้าง1-2 ซม. ยาว 8-15 ซม. มีปีกตามขอบฝักด้านบน กว้าง 3-5 มม. เมล็ด แบน สีน้ำตาลอ่อน
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย เมียนม่าห์ลาว จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบตามป่าดิบ ที่ชื้นหรือริมลำธาร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,100 เมตร ออกดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
- อินเดีย เมียนม่าห์ลาว จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบตามป่าดิบ ที่ชื้นหรือริมลำธาร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,100 เมตร ออกดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
- อินเดีย เมียนม่าห์ลาว จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบตามป่าดิบ ที่ชื้นหรือริมลำธาร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,100 เมตร ออกดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
- อินเดีย เมียนม่าห์ลาว จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบตามป่าดิบ ที่ชื้นหรือริมลำธาร ที่ระดับความสูงไม่เกิน 1,100 เมตร ออกดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เพชรบุรี
- พิษณุโลก
- อุตรดิตถ์
- ประจวบคีรีขันธ์
- พะเยา
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- อุบลราชธานี
- มุกดาหาร
- ชลบุรี
- เชียงใหม่
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- ศรีสะเกษ
- พิษณุโลก
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ที่อยู่อาศัย