ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นผลัดใบ สูง 6-20 เมตร ลำต้นเปลา ทรงแคบ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกตรงข้ามใบย่อย 2-5 คู่ รูปรีแกมหอก หรือขอบใบขนานแกมหอก กว้าง 2-6 ซม. ยาว 5-12 ซม. ปลายเป็นติ่งโคนแหลม ดอก สีเหลืองทองหรืออมส้ม ออกเป็นกระจุกที่กิ่งและลำต้น กระจุกละ 5-10 ดอก ทยอยบาน กลีบรองกลีบดอกเป็นถ้วยสีม่วงอมแดง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ยาว 4.5-7 ซม. ส่วนกลางป่องเป็นกระเปาะ ปลายเป็นแฉกสั้น ๆ 5 แฉก เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. เกสรผู้ 4 อัน ผล เป็นฝักยาว 35-90 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีปีก
- ทรงพุ่มโปร่ง มักแตกกิ่งก้านสาขาที่ระดับความสูงประมาณ 2 ม. ขึ้นไป
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นผลัดใบ สูง 6-20 เมตร ลำต้นเปลา ทรงแคบใบ:ใบประกอบแบบขนนก ออกตรงข้ามใบย่อย 2-5 คู่ รูปรีแกมหอก หรือขอบใบขนานแกมหอก กว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 5-12 เซนติเมตร ปลายเป็นติ่งโคนแหลมดอก:ดอกสีเหลืองทองหรืออมส้ม ออกเป็นกระจุกที่กิ่งและลำต้น กระจุกละ 5-10 ดอก ทยอยบาน กลีบรองกลีบดอกเป็นถ้วยสีม่วงอมแดง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ยาว 4.5-7 เซนติเมตร ส่วนกลางป่องเป็นกระเปาะ ปลายเป็นแฉกสั้นๆ 5 แฉก ปลายกลีบตลบไปด้านหลัง เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 เซนติเมตร เกสรผู้ 4 อันผล:ผลเป็นฝักยาว 35-90 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีปีกเปลือก:อื่นๆ:

ไม้ต้นผลัดใบ สูง 6-20 เมตร ลำต้นเปลา ทรงแคบ
ใบประกอบแบบขนนก ออกตรงข้ามใบย่อย 2-5 คู่ รูปรีแกมหอก หรือขอบใบขนานแกมหอก กว้าง 2-6 เซนติเมตร ยาว 5-12 เซนติเมตร ปลายเป็นติ่งโคนแหลม
ดอกสีเหลืองทองหรืออมส้ม ออกเป็นกระจุกที่กิ่งและลำต้น กระจุกละ 5-10 ดอก ทยอยบาน กลีบรองกลีบดอกเป็นถ้วยสีม่วงอมแดง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ยาว 4.5-7 เซนติเมตร ส่วนกลางป่องเป็นกระเปาะ ปลายเป็นแฉกสั้นๆ 5 แฉก ปลายกลีบตลบไปด้านหลัง เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 เซนติเมตร เกสรผู้ 4 อัน
ผลเป็นฝักยาว 35-90 เซนติเมตร เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีปีก

- ไม้ต้น สูง 10–15 ม. ใบประกอบ 2–3 ชั้น ยาว 18–60 ซม. ใบประกอบย่อยมี 3–4 คู่ ใบย่อย 3–5 คู่ รูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5–12 ซม. เบี้ยว มักมีต่อมที่โคนด้านหลังใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ออกตามลำต้นและกิ่ง มี 5–13 ดอก ดอกสีส้ม ก้านดอกยาว 0.5–1 ซม. กลีบเลี้ยงติดกันประมาณกึ่งหนึ่งคล้ายกาบ หลอดกลีบยาว 1.5–2 ซม. ดอกรูปกรวย ยาว 4.5–7 ซม. ปลายแยกเป็นแฉกรูปกลม ยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้มีขน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 4.5 ซม. แกนอับเรณูปลายเป็นติ่งแหลม ฝักยาว 30–45 ซม.
- ไม้ต้นผลัดใบ สูง 6-20 เมตร ลำต้นเปลา ทรงแคบ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก ออกตรงข้ามใบย่อย 2-5 คู่ รูปรีแกมหอก หรือขอบใบขนานแกมหอก กว้าง 2-6 ซม. ยาว 5-12 ซม. ปลายเป็นติ่งโคนแหลม ดอก สีเหลืองทองหรืออมส้ม ออกเป็นกระจุกที่กิ่งและลำต้น กระจุกละ 5-10 ดอก ทยอยบาน กลีบรองกลีบดอกเป็นถ้วยสีม่วงอมแดง กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอด ยาว 4.5-7 ซม. ส่วนกลางป่องเป็นกระเปาะ ปลายเป็นแฉกสั้น ๆ 5 แฉก เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. เกสรผู้ 4 อัน ผล เป็นฝักยาว 35-90 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก เมล็ดมีปีก
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามธรรมชาติทั่วไป โดยเฉพาะบนเทือกเขาหินปูนที่ค่อนข้างชื้นทางภาคเหนือ ออกดอกเดือน มีนาคม-เมษายน
- พบทั่วไปทางภาคเหนือของไทย ในป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้ง ออกดอกเดือนมกราคม-เมษายน ผลออกเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน
- พบตามธรรมชาติทั่วไป โดยเฉพาะบนเทือกเขาหินปูนที่ค่อนข้างชื้นทางภาคเหนือ ออกดอกเดือน มีนาคม-เมษายน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ยืนต้นขนาดกลาง
ถิ่นกำเนิด :
- ประเทศไทย
การขยายพันธุ์ :
- การตอน การปักชำ แต่ที่นิยมคือ การเพาะเมล็ดเองจากต้น
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่านาซาวฝั่งซ้ายถนนแพร่-น่าน ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่วงก์ – แม่เปิน
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- อุตรดิตถ์
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,ปลูกเป็นไม้ประดับ