ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก
- ไม้ตันไม่ผลัดใบ สูง 6-8 เมตร กิ่งมีหนาม มีขนสั้นนุ่มรูปดาว มีนวลแป้ง ใบ เดี่ยว เรียงเวียน ออกถี่ที่ปลายกิ่ง รูปเกือบกลม กว้างและยาว 60-90 เซนติเมตร ปลายแหลมถึงเรียวแหลม เกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่มรูปดาว ขอบเว้าลึก 8-9 พู พูรูปไข่แกม รูปใบหอกแคบ ขอบพูจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบเด่นชัดทั้งสองด้าน ก้านใบมีหนาม หูใบเชื่อมติดเป็นกาบ ดอก แบบช่อแยกแขนง ช่อดอกย่อยแบบช่อซี่ร่ม ออกที่ปลายกิ่ง หรือใกล้ปลายกิ่ง มีขนสั้นหนานุ่มรูปดาวหนาแน่นเมื่อยังอ่อน มี 25-45 ดอก ก้านช่อดอกยาว 10-17 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงมีขนสั้นหนานุ่มรูปดาว กลีบดอกสีเขียว เกสรเพศผู้ 7-12 เกสร รังไข่ใต้วงกลีบ ผล มีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด ทรงกลม ถึงทรงกลมแบน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.8 เชนติเมตร เรียบหรือเป็นสัน มีก้านเกสร เพศเมียติดทน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้น: สูงถึง 8 ม. ลำต้นมีหนาม ใบ: เป็นใบเดี่ยวจักแผ่กว้าง เรียงสลับแน่นใกล้ปลายยอด ขนาด 30-70 ซม. แผ่นใบหยักเว้าลึกเป็นพู 5-9 พู ขอบใบของแต่ละพูจักลึกไม่เป็น ระเบียบ ผิวใบมีขนละเอียดสีน้ำตาล ดอก: สีนวลแกมเขียวเป็น ช่อกลมใหญ่ แกนช่อดอกแตกแขนง ยาวถึง 60 ซม. มีขนสีน้ำตาล ช่อย่อยขนาดประมาณ 8 ซม. ดอกบานขนาด 1.5 ซม. กลีบดอก 8-10 กลีบ รูปไข่ปลายแหลมและมักงอพับไปด้านหลังเกสรผู้ 8-12 อัน ผล: รูปกรวยคว่ำ ยาวถึง 1.7 ซม. มีก้านเกสรเมียติดที่ปลาย
- ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 8 เมตร ลำต้นมีหนาม ใบ เดี่ยวจักแผ่กว้าง เรียงสลับแน่นใกล้ปลายยอด ขนาด 30-70 ซม. แผ่นใบหยักเว้าลึกเป็นพู 5-9 พู ขอบใบของแต่ละพูจักลึกไม่เป็น ระเบียบ ผิวใบมีขนละเอียดสีน้ำตาล ดอก สีนวลแกมเขียวเป็น ช่อกลมใหญ่ แกนช่อดอกแตกแขนง ยาวถึง 60 ซม. มีขนสีน้ำตาล ช่อย่อยขนาดประมาณ 8 ซม. ดอกบานขนาด 1.5 ซม. กลีบดอก 8-10 กลีบ รูปไข่ปลายแหลมและมักงอพับไปด้านหลังเกสรผู้ 8-12 อัน ผล รูปกรวยคว่ำ ยาวถึง 1.7 ซม. มีก้านเกสรเมียติดที่ปลาย
- ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 8 เมตร ลำต้นมีหนาม ใบ เดี่ยวจักแผ่กว้าง เรียงสลับแน่นใกล้ปลายยอด ขนาด 30-70 ซม. แผ่นใบหยักเว้าลึกเป็นพู 5-9 พู ขอบใบของแต่ละพูจักลึกไม่เป็น ระเบียบ ผิวใบมีขนละเอียดสีน้ำตาล ดอก สีนวลแกมเขียวเป็น ช่อกลมใหญ่ แกนช่อดอกแตกแขนง ยาวถึง 60 ซม. มีขนสีน้ำตาล ช่อย่อยขนาดประมาณ 8 ซม. ดอกบานขนาด 1.5 ซม. กลีบดอก 8-10 กลีบ รูปไข่ปลายแหลมและมักงอพับไปด้านหลังเกสรผู้ 8-12 อัน ผล รูปกรวยคว่ำ ยาวถึง 1.7 ซม. มีก้านเกสรเมียติดที่ปลาย
- ออกดอกเดือนตุลาคม - มีนาคม ติดผลเดือนพฤษภาคม กรกฎาคม
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
- อินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม
- จีน บังกลาเทศ อินเดีย ภูมิภาคอินโดจีน พบในทุกภาคของประเทศไทย บริเวณป่าดิบที่ปลอดจากไฟป่า ที่สูงจากระดับทะเลปานกลาง 600-2,000 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ประจวบคีรีขันธ์
- เพชรบูรณ์
- พะเยา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- แม่ฮ่องสอน
- สตูล, สงขลา
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติสามร้อยยอด
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
การขยายพันธุ์ :
- เพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- นำดอกมาต้มน้ำดื่ม เป็นยาระบายอ่อนๆ ผลนำมาปรุงเป็นอาหาร