ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้พุ่ม/ไม้ต้นขนาดเล็ก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มถึงไม้ต้นขนาดเล็ก ไม่ผลัดใบ ลำต้น: สูงถึง 24 ม. ใบ: ใบขนาด 5-15 x 3-6 ซม. ด้านบนสีเขียวแก่เป็นมัน ก้านใบ ยาว 1-1.8 ซม. ดอก: ดอกสีขาว หรือสีเขียวอ่อนออกเป็นกระจุกแน่นในซอกใบบนๆ หรือด้านล่างของใบ ก้านดอกย่อย หลอด กลีบดอกตัวเมียมีปลายเกสร 4-5 อัน ผล: ผล 0.6-0.8 ซม. สีเขียวอ่อนเปลี่ยนเป็นแดง ผลกลมหรือรูปไข่มี 4-8 ร่อง ด้านบนมีกลีบเลี้ยงที่ยังคงอยู่ เนื้อสีเหลืองมีชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง 4-8 หน่วย เปลือก: เปลือกต้นสีครีมหรือสีน้ำตาลเทา เปลือกบาง เปลือกด้านในเป็นรายริ้วบาง ๆ
- ไม้ยืนต้น สูง 10-20 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 4.5-10 ซม. ดอก สีขาวครีมแกมเขียว ออกเป็นช่อ พร้อมใบอ่อน ช่อดอกย่อยรูปกลม มีดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก ขนาด 1-3 มม. ก้านช่อดอกยาวถึง 2 ซม. กลีบรองดอกสีเขียวขนาดเล็ก โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก จำนวน 5 กลีบ ผล แบบผลสด รูปทรงกลม ขนาดผ่านศูนย์กลาง 5 มม. เมื่อสุกสีแดงดำ ผิวเป็นมัน
- ไม้พุ่ม กึ่ง ไม้ต้นขนาดเล็ก
- ไม้ยืนต้น สูง 10-20 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 4.5-10 ซม. ดอก สีขาวครีมแกมเขียว ออกเป็นช่อ พร้อมใบอ่อน ช่อดอกย่อยรูปกลม มีดอกย่อยขนาดเล็กจำนวนมาก ขนาด 1-3 มม. ก้านช่อดอกยาวถึง 2 ซม. กลีบรองดอกสีเขียวขนาดเล็ก โคนเชื่อมติดกัน กลีบดอก จำนวน 5 กลีบ ผล แบบผลสด รูปทรงกลม ขนาดผ่านศูนย์กลาง 5 มม. เมื่อสุกสีแดงดำ ผิวเป็นมัน
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามป่าดิบแล้งและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 500-1,350 ม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบที่ประเทศศรีลังกา ตอนใต้ของจีน เมียนม่าห์ ประเทศไทยพบขึ้นตามป่าดิบแล้งและ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 500-1,350 เมตร ออกดอกช่วงเดือน ธันวาคม-มกราคม ผลแก่ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
- พบที่ประเทศศรีลังกา ตอนใต้ของจีน เมียนม่าห์ ประเทศไทยพบขึ้นตามป่าดิบแล้งและ ป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 500-1,350 เมตร ออกดอกช่วงเดือน ธันวาคม-มกราคม ผลแก่ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พะเยา, เชียงราย
- อุตรดิตถ์
- เชียงราย
- นครศรีธรรมราช
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- นครศรีธรรมราช
- กระบี่, ตรัง
- เชียงใหม่
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง