ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านท้องงใบมีขนนุ่มหนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้ 5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
- ไม้เถา น้ำยางสีขาว กิ่งมีขนสั้นนุ่มและขนสาก กิ่งแก่เกลี้ยง เป็นคอร์ก ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่กลับ ยาว 3.5–24 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง แผ่นใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 0.8–4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ยาว 9–25 ซม. ดอกหนาแน่นช่วงปลายช่อ กลีบเลี้ยงรูปรีหรือรูปแถบ ยาว 0.5–1 ซม. มีต่อมที่โคนด้านใน ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกรูปแตร สีขาวอมม่วงหรือชมพู ด้านในมีสีเข้ม เรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก หลอดกลีบดอกยาว 2–3 ซม. มี 5 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 3–6 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใต้กึ่งกลางหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้นมาก อับเรณูยาว 5–6 มม. จานฐานดอกเป็นวง สูงกว่ารังไข่ มี 2 คาร์เพล ปลายเชื่อมติดกันเป็นก้านเกสรเพศเมียยาว 1.5–2.2 ซม. รวมยอดเกสร ผลแตกแนวเดียวออกเป็นคู่ โคนและปลายเชื่อมติดกัน ยาว 6–9 ซม. แต่ละฝักกว้าง 1.6–1.8 ซม. ผนังผลเป็นคอร์ก เป็นสัน มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีกระจุกขนยาวประมาณ 4 ซม.
- ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านท้องงใบมีขนนุ่มหนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้ 5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
- ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านท้องงใบมีขนนุ่มหนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้ 5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
- ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านท้องงใบมีขนนุ่มหนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้ 5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
- พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
- พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
- พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- พะเยา,น่าน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ
ที่มาของข้อมูล